Page 20 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 20

11-10 ประวตั ิศาสตร์ไทย
            วธิ จี ดั หาทนุ เงินทนุ ทร่ี ัฐบาลจำ� ต้องมีในการประกอบเศรษฐกิจมีสองชนิด คอื หนงึ่ เงนิ ทุน

ทรี่ ฐั บาลมไี วเ้ พอื่ ซอื้ เครอ่ื งจกั รกลและวตั ถทุ ร่ี ฐั บาลทำ� ไมไ่ ด้ สอง เงนิ ทนุ ทร่ี ฐั บาลมไี วเ้ พอ่ื ใชจ้ า่ ยเปน็ คา่ แรง
เงนิ ทนุ ประเภททส่ี องนเี้ ปน็ เงนิ ทนุ หมนุ เวยี น และหกั กลบลบหนก้ี นั ไดก้ บั เงนิ ทร่ี าษฎรนน้ั ๆ เปน็ ลกู หนต้ี า่ งๆ
ตอ่ รฐั บาลหรอื ตอ่ สหกรณ์ วธิ จี ดั หาทนุ กค็ อื การเกบ็ ภาษมี รดก ภาษรี ายได้ ภาษที างออ้ ม เชน่ ภาษนี ำ้� ตาล
ภาษบี ุหรี่ การออกสลากกนิ แบ่ง การกเู้ งินภายใน

            2.2 	พระสารสาสนพ์ ลขนั ธ์ (ลอง สนุ ทานนท)์ พระสารสาสนพ์ ลขนั ธถ์ อื เปน็ นกั คดิ คนส�ำคญั
คนหนงึ่ ทมี่ ลี กั ษณะของการผสานลกั ษณะของชาตนิ ยิ ม สงั คมนยิ ม และการตอ่ ตา้ นระบบกษตั รยิ ์ โดยเสนอ
กระแสความคดิ สงั คมนยิ มอกี ลกั ษณะหนงึ่ ใน “เคา้ โครงการเศรษฐกจิ ทว่ั ไป” เมอื่ พ.ศ. 2477 ตามขอ้ เสนอ
ระบวุ ่า ไม่ได้ใหร้ วมทนุ ที่ดนิ และแรงงานเป็นของรฐั ตามแบบความคดิ ของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม แตใ่ น
โครงการดังกล่าวอนุโลมตามความคิดของราษฎรขณะนั้น คือ “ต้องมีทรัพย์เอกชนและทุกคนมีสิทธ์ิใน
ทรพั ย์ของตนและใชท้ รัพย์นั้นๆ ไดต้ ามอำ� เภอใจ โดยไม่ทำ� ให้เพอื่ นบ้านและเพือ่ นประเทศเสยี หาย” แต่
ในการด�ำเนินการเศรษฐกิจที่ค�ำนึงถึงสภาพของประเทศและกฎทางเศรษฐกิจ เขาได้กล่าวว่า รัฐต้อง
ท�ำหน้าท่ีเป็นผู้ประกอบการและเป็นผู้ริเร่ิม ในการท�ำให้ทุนกับแรงงานเจอกัน ท�ำให้องคาพยพให้มีการ
ทำ� งาน ทำ� คนงานให้มีเคร่ืองมอื หรือปัจจยั การผลติ และท�ำหนา้ ท่วี ินิจฉัยชนิดและจ�ำนวนของผลการผลิต
นอกจากนี้ ยังเสนอให้ใช้วธิ สี หกรณ์ ทำ� หนา้ ทีเ่ ป็นทงั้ ผูซ้ ือ้ ผู้ขาย และนายธนาคาร ซง่ึ สหกรณ์แบบน้ี เขา
อธิบายไว้ว่าเป็นโครงการบริบูรณ์ในตัวเองและครบองค์แห่งเศรษฐกิจ วิธีการน้ีเท่านั้นจะช่วยให้ราษฎร
พ้นจากแอกของคนหน้าเลือด ปกป้องไม่ให้เสียรัดเสียเปรียบคนรู้มาก และก่อให้เกิดการกระจายรายได้
อยา่ งยตุ ิธรรม12

            อย่างไรก็ตาม แนวความคิดทางเศรษฐกิจท่ีเอนเอียงไปในทางสังคมนิยมดูเหมือนจะได้รับ
การต่อต้านรุนแรงกว่าแนวคิดทางคิดทางเศรษฐกิจรูปแบบอื่นและไม่อาจน�ำไปสู่การปฏิบัติเป็นนโยบาย
เศรษฐกิจได้ ในกรณี เค้าโครงการเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์มนูธรรมส้ินสุดลงด้วยความขัดแย้งทาง
การเมอื ง และนำ� ไปสขู่ อ้ กลา่ วหาเรอ่ื งคอมมวิ นสิ ตท์ ำ� ใหห้ ลวงประดษิ ฐม์ นธู รรมตอ้ งเดนิ ทางออกนอกประเทศ
ส่วนเค้าโครงการเศรษฐกิจท่ัวไปโดยพระสารสาสน์พลขันธ์ ระหว่างขั้นตอนในการเข้าสู่ท่ีประชุมรัฐมนตรี
เขาไดพ้ มิ พโ์ ครงการเผยแพรท่ างหนงั สอื พมิ พ์ ผลกค็ อื ไดร้ บั เสยี งคดั คา้ นอยา่ งรนุ แรงจากรฐั มนตรกี ารคลงั
และทป่ี รกึ ษากระทรวงการคลงั ทงั้ ในเรอ่ื งของผดิ หลักมารยาทของการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ทเ่ี สนอเร่ือง
ให้หนังสือพิมพ์ทราบก่อน และวิจารณ์แนวทางท่ีเสนอมานั้นไม่เหมาะสมกับฐานะทางเศรษฐกิจการคลัง
ของไทย ทา้ ยทสี่ ดุ เขาไดล้ าออกจากคณะรฐั มนตรแี ละเดนิ ทางไปทำ� งานทป่ี ระเทศญป่ี นุ่ จนสงครามโลกครง้ั
ท่ี 2 ยตุ 1ิ 3

         12 นครนิ ทร์ เมฆไตรรัตน์. เรอื่ งเดียวกนั . น. 93-95.	
         13 เรือ่ งเดียวกัน.
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25