Page 17 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 17
การวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยการสอื่ สารชุมชน 7-7
ความน�ำ
การวิเคราะหข์ อ้ มลู เปน็ ขั้นตอนหลังจากทที่ �ำวิจัยจนได้ผลการศกึ ษา “ขน้ั ตน้ ” มาแลว้ ซ่งึ เปน็ ผล
ทเี่ รยี กวา่ “ขอ้ มูลดบิ ” เน่ืองจากเป็นข้อมูลที่อาจจะเปน็ ตวั เลขทเ่ี ปน็ กลุ่มๆ หรือตวั เลขกระจัดกระจาย ไม่
สามารถนำ� มาสรา้ งความหมายใดๆ ได้ หรอื หากเปน็ การวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพ กเ็ ปน็ ขอ้ มลู ทเี่ ปน็ บนั ทกึ ประเภท
ตา่ งๆ เชน่ เปน็ ตวั อกั ษรในเอกสาร หนงั สอื ตา่ งๆ หรอื เปน็ รปู ภาพ ภาพเคลอ่ื นไหว หรอื สอ่ื พนื้ บา้ นประเภท
ต่างๆ ส่ิงเหลา่ นเ้ี ราเรียกวา่ “ข้อมูลดิบ” เมือ่ ได้ขอ้ มลู ดบิ แล้ว การวิเคราะห์ขอ้ มูลคอื การดำ� เนนิ การดว้ ย
กระบวนการต่างๆ เพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ในการวิจัย หรือเป้าหมายที่ต้ังไว้ ด้วยการจัดข้อมูลให้ผ่าน
ระบบการวิเคราะห์ท้งั ในเชิงปรมิ าณและคุณภาพ เพอื่ สามารถ “ตอบคำ� ถามการวิจัยได”้
ขั้นตอนการวิเคราะห์มีความส�ำคัญอย่างมาก เพราะการที่นักวิจัยรวบรวมข้อมูลดิบมาได้ หาก
ไม่ผ่านข้ันตอนวิเคราะห์ข้อมูลที่มีประสิทธิภาพจะไม่สามารถ “ค้นหา” ความหมาย ความสัมพันธ์ และ
ความเชอ่ื มโยงของตัวแปรตา่ งๆ จนน�ำไปสู่ “ค�ำตอบ” ท่เี ขา้ ถึงความจริงได้ ยงิ่ ในการวิจัยเพื่อการสอื่ สาร
ชุมชนแล้ว การวิเคราะห์ข้อมูลย่ิงต้องการ ความรู้ความเข้าใจ เฉพาะด้านท่ีสามารถประสานได้กับบริบท
ของแต่ละชุมชนเป็นอย่างดี ขั้นตอนน้ี จึงเปรียบเสมือนการเก็บเพชรพลอย ทองคำ� ก้อนหินดินทรายมา
เป็นจ�ำนวนมาก หากไม่มีกระบวนการเจียรนัย ไม่รู้ส่วนผสมขององค์ประกอบต่างๆ และการออกแบบที่
เหมาะสม (การวเิ คราะหท์ เี่ หมาะสมของชมุ ชน) นกั วจิ ยั อาจจะไม่สามารถน�ำเพชรพลอย ทองคำ� กอ้ นหนิ
ดนิ ทรายมาประกอบเป็นรูปรา่ ง หล่อหลอม ตบแต่ง ขัดเกลา สร้างรูปแบบจนเปน็ วสั ดทุ ่มี คี ุณคา่ เพ่อื สร้าง
ประโยชน์และตอบสนองต่อเป้าหมายของชุมชน และอาจเป็นไปไดว้ ่า นกั วิจัยท่ที อ้ แท้ และนักวจิ ัยมอื ใหม่
อาจทง้ิ เพชรพลอย ทองคำ� ไปโดยไมร่ ตู้ วั หรอื ไมร่ ดู้ ว้ ยวา่ การประกอบสว่ นผสมทด่ี ี (การเชอื่ มโยงหาความ
สัมพนั ธ์ระหว่างตัวแปร) ระหว่างกอ้ นกรวด กบั เพชรพลอย จะทำ� ให้ไดส้ ่ิงของเครื่องประดบั ทมี่ มี ลู ค่าสงู
มาก
ทกี่ ลา่ วเชน่ น้ี เปน็ เพราะวา่ การวเิ คราะหข์ อ้ มลู นน้ั เปน็ งานหนกั และมคี วามยากลำ� บากอยา่ งนอ้ ย
สามประการ ประการแรกคอื เปน็ งานทใ่ี ชเ้ วลาคอ่ นขา้ งนาน อาจกนิ เวลานานเปน็ สองเทา่ ของการรวบรวม
ข้อมลู
ประการท่ีสอง ทมี นกั วจิ ยั ไมร่ จู้ ะจดั การกบั ขอ้ มลู ทม่ี จี ำ� นวนมาก ทว่ มทน้ มหาศาลไดอ้ ยา่ งไร เพอ่ื
ให้ได้ “แนวคดิ ” หรอื ทฤษฎที เี่ กาะเกย่ี วกับโลกแหง่ ความเปน็ จรงิ เฉพาะของชมุ ชนนนั้ ๆ
นกั วจิ ยั อาจคน้ พบวา่ ขอ้ มลู ทไ่ี ดม้ าไมเ่ ปน็ ประโยชน์ หรอื ไมส่ ามารถตอบคำ� ถามการวจิ ยั ได้ จำ� เปน็
ต้องกลับไปเก็บใหม่คร้ังแล้วครงั้ เลา่ และมีข้อมลู จ�ำนวนมากท่ีไม่สามารถกลับไปเกบ็ ใหมไ่ ดเ้ ปน็ ครั้งทสี่ อง
ประการที่สาม หากเป็นข้อมูลจากการวิจัยเชิงปริมาณ ซึ่งเต็มไปด้วยตัวเลขและต้องใช้ความรู้
เชิงสถิติเข้ามาช่วยในการวิเคราะห์แล้ว ก็เป็นเร่ืองยากส�ำหรับหลายคน ส่ิงเหล่านี้สร้างความเบ่ือหน่าย
ทอ้ แท้ใหแ้ ก่ทมี ผู้วิจยั อยา่ งมาก