Page 20 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 20

7-10 การศึกษาชมุ ชนเพ่อื การวิจัยและพฒั นา

เรื่องที่ 7.1.2
แนวคิดพื้นฐานและกลยุทธ์การวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยการส่ือสาร
ชุมชน	

       ก่อนที่กล่าวถึง วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลการส่ือสารชุมชน นักศึกษาจ�ำเป็นต้องทบทวนแนวคิด
พื้นฐานของการส่ือสารชมุ ชนกอ่ นว่า มีลกั ษณะเชน่ ไร เพ่ือให้การวิเคราะหข์ ้อมลู มที ิศทางทีถ่ กู ตอ้ งและนำ�
ไปสกู่ ารค้นหาคำ� ตอบเพอ่ื ชมุ ชนโดยแทจ้ ริง

       แนวคดิ การวจิ ยั ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั ชมุ ชน หรอื Community-engaged research (CeNR) อาจหมาย
รวมถงึ การวจิ ยั ทใี่ ชช้ มุ ชนเปน็ สนาม ไปจนถงึ การวจิ ยั ทชี่ มุ ชนมสี ว่ นรว่ มเปน็ ผวู้ จิ ยั อยา่ งเตม็ รปู แบบ (โปรด
ดรู ูปแบบการศกึ ษาชุมชนได้ใน Hacker, 2013, น. 3) ในประวัตศิ าสตรท์ ่ผี ่านมา การวจิ ยั ท่เี กี่ยวข้องกับ
ชมุ ชนจะไมไ่ ดห้ มายถงึ การทช่ี มุ ชนเปน็ ผวู้ จิ ยั รว่ มเสมอ แตอ่ าจหมายถงึ การใชช้ มุ ชนเปน็ สนามเกบ็ ขอ้ มลู
หรอื ท�ำการทดลอง หรอื ปฏบิ ัติการ เม่ือเสรจ็ ส้ินงานแลว้ นักวิจยั กถ็ อนตวั จากสนาม ดว้ ยเหตนุ ี้เอง ชมุ ชน
หลายแห่งจึงมีทัศนะท่ีเป็นลบต่อการท�ำงานวิจัย เพราะสิ่งที่เกิดขึ้นเสมอกับชุมชนหลายแห่งคือ หลังจาก
ให้ความรว่ มมอื ใหเ้ วลา ใหข้ ้อมลู ใหก้ ารสนบั สนนุ แกน่ กั วิจยั แลว้ นักวจิ ัยจะถอนตวั ออกไปโดยชุมชนไม่
ไดป้ ระโยชน์ใดๆ ชาวบ้านจึงอาจรูส้ กึ วา่ ถูกใช้หรือถกู เอาเปรยี บ แตค่ นที่ไดผ้ ลงาน ได้ประโยชน์กลบั เป็น
นักวิจยั (Hacker, 2013)

       ต่อมาได้เกิดการพัฒนาแนวคิดด้าน การวิจัยชุมชนอย่างมีส่วนร่วม Community-based par-
ticipatory research (CBPR) โดยได้เน้นยา้ํ ถงึ การมีสว่ นร่วมของชุมชนเต็มรูปแบบในทุกขนั้ ตอนของ
การทำ� วจิ ยั ตงั้ แตเ่ รมิ่ ตงั้ คำ� ถามวจิ ยั ไปจนถงึ การวเิ คราะหข์ อ้ มลู และการเผยแพรง่ านวจิ ยั (Hacker, 2013)

       จุดประสงค์เป้าหมายหลักของ CBPR คือ การสร้างกระบวนการท่ีมีประสิทธิภาพ ที่จะเพ่ิมพูน
ความเชอื่ มโยงระหว่างนกั วิชาการ และชมุ ชนทีถ่ ูกศกึ ษาวจิ ยั โดยไม่จ�ำกดั สาขาวชิ า แงม่ ุมต่างๆ ของการ
มีส่วนร่วมระหว่างนักวิจัยและชุมชนจะเป็นไปอย่างเท่าเทียมกัน ท่ีส�ำคัญ CBPR จะเน้นการเชื่อมโยง
ระหว่างความรู้ที่นักวิชาการได้จากการศึกษาชุมชน กับการใช้ความรู้นั้นมาแปลงเป็นการปฏิบัติในระดับ
ชมุ ชนด้วย (Hacker, 2013)

       สุภางค์ จนั ทวานิช (2546) กลา่ วถงึ แนวคิดวิเคราะห์ชมุ ชนวา่ หมายถงึ “แนวคิดทถ่ี อื วา่ ชมุ ชน
เป็นหน่วยรวมทางสังคม ที่นักวิจัยก�ำลังศึกษาอยู่ จึงจ�ำเป็นต้องวิเคราะห์หน่วยนี้ให้เห็นภาพรวมของ
ปฏสิ มั พนั ธข์ องระบบหรอื สถาบนั ตา่ งๆ ในชมุ ชนนน้ั ๆ การวเิ คราะหช์ มุ ชนเปน็ การนำ� ภาพชมุ ชนมาแยกแยะ
เปน็ ระบบยอ่ ย เพอ่ื ใหเ้ ขา้ ใจความสลบั ซบั ซอ้ นทง้ั ในตวั ระบบเอง และระหวา่ งระบบเหลา่ นน้ั และเกดิ ความ
เข้าใจโครงสร้างทางสังคมของชุมชน ได้แก่ ความเกี่ยวพันของระบบเศรษฐกิจ ระบบนิเวศวิทยา ระบบ
การเมอื ง ระบบวัฒนธรรม ซงึ่ ในการวิเคราะห์ชมุ ชน นกั วจิ ยั จึงต้องนำ� ระบบตา่ งๆ มาศึกษาทกุ ระบบ และ
บรู ณาการระบบเหลา่ นน้ั เขา้ ดว้ ยกนั อนง่ึ นกั วจิ ยั ตอ้ งพจิ ารณาชมุ ชนในภาพทมี่ พี ลวตั ของการเปลย่ี นแปลง
ด้วย ไมใ่ ชศ่ ึกษาเฉพาะ ภาพนิง่ ของชมุ ชน” (สภุ างค์ จันทวานชิ , 2546, น. 21)
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25