Page 18 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 18
7-8 การศกึ ษาชมุ ชนเพอ่ื การวจิ ยั และพฒั นา
เน้อื หาในหนว่ ยนี้ จะพยายามชใี้ ห้เห็นแนวทาง ขนั้ ตอน กลยุทธ์ส�ำคัญ และวิธีการที่ใชว้ ิเคราะห์
ข้อมูล โดยเน้นไปท่ี ข้อมูลของการวิจัยการส่ือสารชุมชน ซึ่งมีจุดเน้น และกลยุทธ์ที่แตกต่างจากการ
วิเคราะหข์ อ้ มลู ในการวจิ ัยทวั่ ไป โดยจะแบง่ เนือ้ หาตามโครงสรา้ งดงั นี้
ตอนที่ 7.1 สรา้ งความเขา้ ใจของความหมายของการวเิ คราะห์ขอ้ มลู แนวคิดพน้ื ฐาน และแนวทาง
การวิเคราะห์ส�ำคัญ เพ่ือให้เห็นภาพกว้างๆ ว่า นักวิจัยจะต้องเผชิญกับอะไรบ้าง และมีแนวทางในการ
จัดการข้อมลู กแ่ี บบ
ตอนที่ 7.2 เน้นวิธีการวเิ คราะหข์ ้อมลู ส�ำหรบั การวจิ ัยการส่ือสารชุมชน ในเชงิ ปรมิ าณ
ตอนท่ี 7.3 เนน้ วธิ ีการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ส�ำหรับการวิจยั การส่ือสารชมุ ชน ในเชิงคณุ ภาพ
เพอื่ สรา้ งความเขา้ ใจใหช้ ดั เจนมากขน้ึ ขอยกค�ำนยิ ามของ “การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ” จากนกั วชิ าการ
หลายๆ คน เพื่อใหเ้ หน็ ทศิ ทางวา่ ในหนว่ ยน้ี นักศกึ ษาต้องมที ิศทางในการศกึ ษาและมคี วามเขา้ ใจวา่ จะ
ครอบคลมุ ในเรือ่ งใดบา้ ง
เรื่องที่ 7.1.1
ความหมายของการวิเคราะห์ข้อมูล
การนิยามความหมายของการวเิ คราะห์ข้อมลู มผี ใู้ ห้นยิ ามไว้หลากหลายดงั น้ี
Lofland et al., 2006 กลา่ ววา่ การวเิ คราะหข์ อ้ มลู เกยี่ วขอ้ งกบั กระบวนการเปลย่ี นแปลงประเภท
หน่งึ ซึง่ ข้อมลู ดบิ ถกู ท�ำใหเ้ ป็น ผลการศกึ ษา หรอื ผลท่ถี กู ค้นพบ
Lofland ได้อ้างถึงนักวิชาการอีกสองท่าน ที่ระบุถึงความหมายของการวิเคราะห์ข้อมูล คือ
Harry Wolcott (1994) ซง่ึ ระบวุ า่ กระบวนการเปลยี่ นแปลงนเ้ี กยี่ วขอ้ งกบั ระดบั พนื้ ฐาน ของการจดั หมวดหมู่
ข้อมูล หรือกระบวนการท่ีเป็นระบบในการสร้างความหมายส�ำคัญ และสร้างความสัมพันธ์กับวัตถุดิบ
(ขอ้ มูลดบิ ) ที่มาในรปู แบบเชงิ พรรณนา
จติ ราภา กุณฑลบุตร (2550, น. 199) กล่าวว่า “การวเิ คราะห์ข้อมลู เป็นการน�ำข้อมูลท่ีรวบรวม
ได้มาวิเคราะห์เพื่อตอบค�ำถามหรือวัตถุประสงค์ของการวิจัย ซึ่งอาจเป็นการวิเคราะห์ทั้งในส่วนท่ีไม่ใช้
ตวั เลข คา่ สถติ ิ และสว่ นทใี่ ชค้ า่ สถติ ใิ นการคำ� นวณ ในการใชค้ า่ สถติ ใิ นการคำ� นวณ ผวู้ เิ คราะหต์ อ้ งมคี วามรู้
ความเขา้ ใจความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งการเลอื กใช้สถติ ิ กับระดับของมาตรการวัด”
ส�ำหรับการวิจัยการส่ือสารชุมชน จ�ำเป็นต้องกล่าวเฉพาะเจาะจงถึงการวิจัยเชิงคุณภาพ ซ่ึงเป็น
วิธีวิทยา หลักของการวิจัยประเภทนี้ ข้อมูลท่ีได้จากการวิจัยเชิงคุณภาพจะเป็น ค�ำให้สัมภาษณ์ บันทึก
สนาม (Field note) ขอ้ ความในเอกสาร หนงั สอื ตา่ งๆ รปู ภาพ ภาพเคลอ่ื นไหว และเนอื้ หาในสอื่ ประเภท
ตา่ งๆ การแสดง พธิ กี รรม เทศกาล ประเพณี และขอ้ มลู ทศี่ กึ ษาเกยี่ วกบั กระบวนการกลมุ่ การเคลอื่ นไหว