Page 21 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 21
การวิเคราะห์ขอ้ มูลการวิจยั การสื่อสารชุมชน 7-11
กาญจนา แกว้ เทพ (2548) ใชก้ ระบวนทศั นด์ า้ นการสอ่ื สารแบบมสี ว่ นรว่ ม (Participatory com-
munication) เพอื่ ศกึ ษาโครงการวจิ ยั การสอ่ื สารชมุ ชนของไทยในระยะสบิ ปที ผี่ า่ นมา โดยระบวุ า่ การวจิ ยั
การส่อื สารชุมชน มีแนวทางคูข่ นาน คอื ดา้ นหนึง่ มกี ารน�ำการสอ่ื สารมาใช้เพื่อการพัฒนา และในอกี ด้าน
หนึ่งกม็ ีการพฒั นา “ตัวการสื่อสาร” น้นั ไปดว้ ย
สรุปแล้ว เพ่ือเป็นการท�ำความเข้าใจตรงกันก่อนที่จะเร่ิมวิธีวิเคราะห์ข้อมูล การวิจัยการส่ือสาร
ชุมชน หลกั การพ้นื ฐานคือ
1) การวิจัยการสื่อสารชุมชนเป็นการด�ำเนินการวิจัยภายใต้กระบวนการของการมีส่วนร่วม
ระหว่าง นักวิชาการ และชุมชน ในทกุ ขน้ั ตอนเทา่ ท่ีจะท�ำได้ รวมทงั้ ขนั้ ตอนการวเิ คราะห์ข้อมูล หรืออาจ
เรยี กไดว้ า่ ชาวบา้ นกร็ ว่ มเปน็ นกั วจิ ยั ดว้ ยนนั่ เอง ในทน่ี เ้ี มอื่ ใชค้ ำ� วา่ “นกั วจิ ยั ” จงึ หมายรวมถงึ ทง้ั สองฝา่ ย
คอื ฝา่ ยนักวชิ าการ/นกั ศกึ ษา/ผู้ทำ� งานดา้ นสอ่ื และสังคม และฝา่ ยชมุ ชน/ชาวบา้ น
2) การวจิ ยั การสอ่ื สารชมุ ชนตอ้ งดำ� เนนิ ไปภายใตร้ ากฐานสำ� คญั คอื การศกึ ษาบรบิ ทชมุ ชนอยา่ ง
ละเอียด ในทกุ หนว่ ยของสงั คม รวมทั้งเห็นความเช่อื มโยงของหนว่ ยตา่ งๆ และนำ� ผลการศึกษานี้ มาใชใ้ น
การวิเคราะหข์ ้อมลู ดว้ ย เพราะนอกจากจะได้ความร้คู วามเข้าใจแบบ “คนใน” แล้วงานวิจัยที่อาศยั บรบิ ท
ที่ลมุ่ ลกึ ในการวเิ คราะหข์ อ้ มูล ยังสรา้ งความน่าเชื่อถอื ได้อกี ด้วย
3) การวิจัยการสื่อสารชุมชนเป็นการวิจัยที่มิได้มุ่งหมายทดสอบทฤษฎี หรือกรอบแนวคิดเป็น
หลัก แต่มุ่งท่ีจะศึกษาและก่อรูปความคิด แนวคิด หรือทฤษฎีท่ีในท้ายท่ีสุดแล้วสามารถน�ำไปสู่กิจกรรม
ตา่ งๆ (action) หรอื การปฏบิ ตั ิ (practice) ทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ อ่ ชมุ ชน ซงึ่ ในทนี่ ้ี เมอ่ื นกั วจิ ยั เนน้ การสอ่ื สาร
ชมุ ชน กม็ งุ่ ทจี่ ะพฒั นากระบวนการสอ่ื สาร ตวั สอ่ื ผสู้ ง่ สาร ผรู้ บั สาร และปจั จยั ตา่ งๆ ทสี่ ง่ คณุ ประโยชนต์ อ่
การด�ำรงอยขู่ องชุมชนนน่ั เอง
กลยุทธ์การวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยการส่ือสารชุมชน
กอ่ นเขา้ สแู่ นวทางการวเิ คราะหข์ อ้ มลู การสอื่ สารชมุ ชน เพอ่ื ใหน้ กั ศกึ ษาและนกั วจิ ยั สามารถดำ� เนนิ
การวิจัยไปได้อย่างตรงทิศทางมากข้ึน จึงจ�ำเป็นต้องศึกษากลยุทธ์ท่ีจะเป็นตัวช่วยให้ การวิเคราะห์มี
ประสิทธิภาพมากข้นึ ดงั นี้
1) นกั วิจยั ควรต้งั ต้นโดยการ “จับ” และ “จ�ำ” คำ� ถามการวิจัย หรือโจทยก์ ารวิจยั หรือปญั หา
การวจิ ยั ใหแ้ มน่ ย�ำ พรอ้ มทง้ั “ทำ� ความเขา้ ใจ” เพราะคำ� ถามการวจิ ยั คอื “เปา้ หมาย” หลกั ทน่ี กั วจิ ยั ตอ้ ง
ไปให้ถึง หรอื เปน็ เป้าหมายหลกั ท่ี นกั วิจยั ต้องขุดค้น ค้นควา้ แสวงหาเพอื่ ตอบค�ำถามให้ไดด้ ว้ ยความรู้
ที่แปลกใหม่ และมีความส�ำคัญต่อชมุ ชน ไม่ใช่คำ� ตอบที่ทกุ คนรกู้ นั อยู่แลว้ ดังนนั้ ระหว่างการท�ำวิจยั และ
วเิ คราะหข์ อ้ มลู ตอ้ งหมน่ั ทบทวนและถามตนเองเสมอวา่ คำ� ถามหรอื โจทยก์ ารวจิ ยั เขยี นไวว้ า่ อะไร ตอ้ งได้
ขอ้ มูลอะไรบ้างเพอ่ื มาตอบคำ� ถามหรอื โจทย์วิจยั
2) นักวิจัยต้อง “จ�ำ” วัตถุประสงค์การวิจัย ให้แม่นย�ำ แม้ว่าวัตถุประสงค์การวิจัยจะล้อตาม
ค�ำถามการวิจัย แต่วัตถุประสงค์จะช่วยในการท�ำ ดัชนี หรือรหัสในการวิเคราะห์ข้อสรุปได้เป็นอย่างดี
ยิ่งในภาวะที่นักวิจัยพบ “ข้อมูลท่วมท้น” จับต้นชนปลายไม่ถูก การกลับมาทบทวนวัตถุประสงค์ และ
วเิ คราะหไ์ ปทลี ะขอ้ จะเปน็ อกี วธิ หี นง่ึ ทช่ี ว่ ยใหก้ ารทำ� งานวเิ คราะหข์ อ้ มลู ไมต่ กอยใู่ นภาวะ “ดำ� นาํ้ ” ไปเรอ่ื ยๆ