Page 24 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 24
7-14 การศึกษาชุมชนเพอื่ การวจิ ยั และพัฒนา
กิจกรรม 7.1.3
ขอ้ มลู ดบิ มีกป่ี ระเภท จงอธบิ ายรายละเอยี ดแตล่ ะประเภทพอสงั เขป
แนวตอบกิจกรรม 7.1.3
ข้อมูลดบิ มี 2 ประเภท ไดแ้ ก่ 1) ข้อมูลดิบประเภทการวิจัยเชงิ คุณภาพ ซ่ึงประกอบดว้ ย ข้อมลู
ทอี่ ยใู่ นรปู ของตวั อกั ษร สญั ลกั ษณต์ า่ งๆ ทบ่ี ง่ บอกถงึ วฒั นธรรม คา่ นยิ ม อดุ มการณ์ บนั ทกึ การใหส้ มั ภาษณ์
บันทึกการสนทนากลุ่ม บันทึกสถานการณ์และสถานท่ีต่างๆ บันทึกเหตุการณ์และความรู้สึกของกลุ่ม
ตวั อยา่ ง สอ่ื ประเภทตา่ งๆ เชน่ สอ่ื เอกสาร สอ่ื สงิ่ พมิ พ์ สอื่ วดี ทิ ศั น์ สอ่ื ภาพยนตร์ สอื่ พธิ กี รรม สอ่ื ประเพณี
ต่างๆ ไปจนถงึ สอ่ื ทอ้ งถิ่นในชุมชน และ 2) ขอ้ มลู ดบิ ประเภทการวิจยั เชิงปรมิ าณ ซงึ่ เป็นตัวเลข
เรื่องที่ 7.1.4
แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยการส่ือสารชุมชน
ตามทไ่ี ดก้ ลา่ วมาขา้ งตน้ และผเู้ ขยี นหลายทา่ นไดก้ ลา่ วในหนว่ ยกอ่ นหนา้ น้ี โดยไดท้ ำ� ความเขา้ ใจ
มาแลว้ วา่ การวจิ ยั การสอ่ื สารชมุ ชน จะมลี กั ษณะพเิ ศษอยหู่ ลายประการซง่ึ แตกตา่ งจากการวจิ ยั อน่ื ๆ ทว่ั ไป
เชน่ การสอ่ื สารชมุ ชนเปน็ งานวจิ ยั ทมี่ พี นื้ ทว่ี จิ ยั ในชมุ ชนประเภทตา่ งๆ ดงั นนั้ การคำ� นงึ ถงึ บรบิ ทแวดลอ้ ม
ของพืน้ ท่ีการวิจยั น้ัน เป็นส่งิ สำ� คญั ย่งิ รวมทัง้ เปน็ งานวจิ ยั ที่ตอ้ งอาศัยการมสี ่วนร่วมจากคนในชุมชนเปน็
ส�ำคัญ เพราะถึงท่ีสุดแล้ว ผลของการศึกษาหรือผลการวิจัยต้องสามารถตอบโจทย์การวิจัยหลัก ที่เป็น
ประโยชนต์ ่อชุมชนและสามารถน�ำไปปฏิบัตไิ ด้จริง
กาญจนา แกว้ เทพ (2553) กล่าวถงึ คุณลกั ษณะ (Attribute) ของงานวิจัยเพอ่ื ท้องถ่ิน (Com-
munity-based Research: CBR) ท่เี ดน่ ๆ ได้แก่
1) เป้าหมายอยู่ทก่ี ารพฒั นาตวั นักวจิ ยั ซง่ึ เป็นชาวบ้านในชุมชนเปน็ หลัก
2) คนท�ำวิจยั คอื ชาวบ้าน มใิ ชน่ ักวชิ าการหรือนักศึกษาแต่เพียงฝ่ายเดียว
3) เน้นกระบวนการตดิ ต้ังปัญญาวธิ ีคดิ ของนกั วจิ ยั
4) ออกแบบโครงสร้างและกลไกเพ่ือหนุนช่วยช่วยนักวิจัยชาวบ้าน เช่น ปลดล็อก “คุณสมบัติ
เบือ้ งต้นของนกั วิจยั ” มากมายที่ตอ้ งเครง่ ครดั ต่อขนบทางวิชาการ
5) การยกระดับและติดต้ังวธิ ีคิดแบบวิจัย หรือเครอื่ งมอื แสวงหาความรูใ้ หแ้ กช่ าวบา้ น
6) มลี ักษณะเปน็ สหวิทยาการ หรือบูรณาการสูง
7) ใช้วธิ ีการแสวงหาความร้แู บบ KM-Knowledge Management มาทดแทนการอา่ นทบทวน
วรรณกรรม