Page 26 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 26
7-16 การศึกษาชมุ ชนเพือ่ การวจิ ยั และพัฒนา
1) การวเิ คราะหส์ าเหต-ุ ผลลพั ธ์ (Causal relation) การวเิ คราะหห์ าความสมั พนั ธข์ องขอ้ มลู
ต่างๆ เป็นเรื่องส�ำคัญของการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัย เน่ืองจากข้อมูลท่ีเก็บมานั้นกระจัดกระจาย สะเปะ
สะปะ และไมม่ กี ารจดั ระบบ แตก่ ารวจิ ยั คอื การสามารถเชอ่ื มโยงขอ้ มลู ตา่ งๆ ทกี่ ระจดั กระจาย โดยหาความ
สัมพันธ์ของปรากฏการณ์ต่างๆ ได้ จนสามารถอธิบายเป็นแนวคิดหรือทฤษฎี จนอาจกล่าวได้ว่า การ
วิเคราะห์หาความสมั พันธเ์ ปน็ เป้าหมายสูงสดุ ของการวเิ คราะห์และสังเคราะห์ (กาญจนา แก้วเทพ, 2548,
น. 93) การวิเคราะหห์ าความสัมพนั ธ์เชงิ สาเหตุ ผลลพั ธ์ (Cause-effect relationship) เป็นรูปแบบหนึ่ง
ที่ส�ำคัญสำ� หรับการวจิ ัยการสอ่ื สารชุมชน
แนวทางนี้ คอื การวเิ คราะหห์ าสาเหตแุ ละผลลพั ธข์ องปรากฏการณต์ า่ งๆ จากการเกบ็ ขอ้ มลู
การวจิ ยั ทงั้ นเี้ พอ่ื ใหท้ ราบวา่ อะไรคอื สาเหตขุ องปรากฏการณต์ า่ งๆ และสาเหตดุ งั กลา่ วนำ� ไปสผู่ ลลพั ธอ์ ะไร
บา้ ง บางครั้งเรามกั จะเรียกส่ิงที่ก่อให้เกิดสาเหตุ หรอื ผลลพั ธว์ ่า “ตัวแปร” ซึ่งเป็นภาษาในการวิจัย
อยา่ งไรกต็ าม กาญจนา แกว้ เทพ (2548) กล่าวว่า การวเิ คราะหใ์ นรปู แบบสาเหตุ-ผลลัพธ์
มีข้อที่ควรค�ำนงึ ถงึ หรือระมัดระวังอยูส่ ปี่ ระการ คอื
(1) สาเหตทุ ีว่ ิเคราะหไ์ ด้น้นั เปน็ สาเหตุทแ่ี ท้จรงิ หรอื ไม่
(2) การจบั สาเหตุ และผลลัพธ์ ท่ไี ม่ถูกต้องหรอื ผิดฝาผดิ ตวั
(3) ผลลพั ธห์ น่งึ ๆ อาจจะมหี ลายสาเหตุ ทง้ั นต้ี อ้ งจัดลำ� ดับดว้ ยว่า ตัวแปรสาเหตใุ ดท่ี
มนี ํ้าหนกั มากเปน็ อันดับหนงึ่ สอง สาม
(4) เส้นสายของตวั แปรสาเหตุ และผลลัพธ์ทต่ี อ้ งเช่ือมโยงให้ถกู ต้อง
2) การวิเคราะห์บทบาท/หน้าที่ (Functional relation analysis) เมอื่ นักวจิ ัยเริ่มเก็บขอ้ มูล
งานวจิ ยั การสอ่ื สารชมุ ชน นกั วจิ ยั จะพบวา่ การวเิ คราะหบ์ ทบาท/หนา้ ทขี่ องการสอื่ สารแตล่ ะรปู แบบ แตล่ ะ
ประเภท จะเปน็ ไปไดม้ ากนอ้ ยแคไ่ หนขน้ึ กบั โจทยก์ ารวจิ ยั หรอื ค�ำถามการวจิ ยั หากตอ้ งการศกึ ษาวา่ การ
ส่ือสารชุมชนท่ีก�ำลังศึกษาน้ันมีบทบาทหน้าท่ีอย่างไรบ้าง การวิเคราะห์ด้วยแนวทางน้ีก็มีประโยชน์
เนื่องจากเป็นการวิเคราะห์ท่ีหยิบยืมแนวคิดมาจากทฤษฎีหน้าท่ีนิยม (Functionalism) ที่อธิบายสังคม
ท้ังหมดว่า ประกอบไปด้วยส่วนย่อยๆ มารวมกัน และส่วนย่อยๆ น้ัน จะถูกก�ำหนดบทบาทหน้าที่เพื่อ
รักษาสังคมสว่ นรวมไว้ทัง้ หมด (กาญจนา แก้วเทพ, 2548)
การวิเคราะหด์ ้วยแนวทางหนา้ ท/่ี บทบาท จึงมหี ลายมิติ หลายรูปแบบ ข้ึนอยูก่ บั ข้อมลู การ
วิจัยและค�ำถามน�ำวิจัย กาญจนา แก้วเทพ (2548) ได้แบ่งแนวทางการวิเคราะห์บทบาทหน้าท่ีเป็น 4
แนวทางหลกั ดังน้ี
2.1) การวเิ คราะหห์ น้าท่ีจากแนวคดิ ทฤษฎี
2.2) การวเิ คราะหเ์ งอื่ นไข ปจั จัยทสี่ นับสนุนการท�ำหน้าที่ แสดงบทบาท
2.3) ลำ� ดับชั้นของการทำ� หน้าท่ี บทบาท
2.4) วธิ ีการวัดมติ ขิ องหน้าที่
ในที่น้ขี อยกตัวอยา่ งงานแนวทางการวเิ คราะหข์ ้อมูลในแตล่ ะหวั ขอ้ ย่อยดงั น้ี
2.1) การวิเคราะห์หน้าท่ีจากแนวคิด ทฤษฎี เม่ือนักวิจัยได้เก็บข้อมูลจากชุมชนมา
แลว้ ในการวิเคราะหแ์ นวทางนี้ กส็ ามารถต้งั ค�ำถามตอ่ ขอ้ มลู ทีเ่ กบ็ มาได้เป็นสามลกั ษณะคือ “ส่ือชมุ ชน”