Page 30 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 30

7-20 การศึกษาชุมชนเพอื่ การวจิ ยั และพฒั นา

            4) การวิเคราะห์เครือข่าย (Network analysis) คำ� วา่ “เครอื ข่าย” หมายถึง “สายใยของ
ความสมั พนั ธท์ งั้ ทางตรงและทางออ้ ม ทงั้ แนวตรงและแนวนอนระหวา่ งบคุ คลหนงึ่ กบั บคุ คลอนื่ ๆ อกี หลายคน
ในหลายๆ รูปแบบและหลายๆ สถานการณ์ (กาญจนา แกว้ เทพ, 2548)

            แนวทางน้ีเป็นการวิเคราะห์ข้อมูลที่มีนัยส�ำคัญในสังคมไทย เนื่องจากสังคมไทยให้ความ
ส�ำคญั กับ “เครือขา่ ย” ท้ังในแนวตัง้ และแนวนอน ซึ่งอาจจะเปน็ คนในครอบครวั เครือญาติ เพอ่ื นบ้าน
กลมุ่ เพอื่ นในสถาบนั การศกึ ษา กลุม่ แลกเปล่ียนแรงงาน กลมุ่ ธรุ กิจ กลมุ่ อุปถัมภใ์ นชมุ ชน กลมุ่ การเมือง
วัดในหมู่บา้ น ร้านกาแฟ และตลาด

            เครอื ขา่ ยดงั กลา่ วมคี วามสำ� คญั ของสอ่ื ชมุ ชน และการสอื่ สารชมุ ชน เพราะนอกจากจะสะทอ้ น
ให้เห็นถึงพลังอ�ำนาจของคนใดคนหน่ึง หรือกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งแล้ว ยังท�ำให้ผู้วิจัยทราบว่า ข้อมูลท่ีเก็บมา
น้นั มสี ่วนเกี่ยวข้องกบั ใครกลมุ่ ไหนบ้าง และยงั ขาดขอ้ มูลในส่วนกลุม่ ใด เครอื ข่ายใด เพื่อสามารถทำ� ให้
การวิเคราะห์นนั้ เป็นไปอยา่ งแม่นย�ำและเขา้ ถึงความเป็นจรงิ มากทสี่ ุด

            ยกตวั อยา่ งงานวจิ ัยของ สมสขุ หินวิมาน และคณะ (2547) เรอื่ ง เครือข่ายการสอ่ื สารกับ
ศกั ยภาพการด�ำรงอยขู่ องชมุ ชน ศึกษากรณีต�ำบลทุ่งขวาง อำ� เภอพนัสนิคม จงั หวัดชลบรุ ี ดงั ภาพที่ 7.4

                  สมาชกิ                                       เวลาและพ้นื ทใี่ นการสอ่ื สาร

ลักษณะการไหล                                 รูปแบบและเน้ือหา  ธรรมชาติของ
เวยี นของข่าวสาร                              การส่อื สารของ   การรวมกล่มุ
                                             สภากาแฟท่งุ ขวาง

                  ระดับของการส่อื สาร        ประเดน็ /เนอ้ื หาในการสื่อสาร

                        ภาพที่ 7.4 การวิเคราะห์ข้อมูลเครือข่ายการสื่อสาร

ที่มา: กาญจนา แก้วเทพ, 2548.

            5) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างประเด็นกับบริบท (Contextual analysis) การวจิ ยั
การสอ่ื สารชมุ ชนนน้ั การวเิ คราะหบ์ รบิ ทนบั วา่ มคี วามสำ� คญั อยา่ งยงิ่ ซง่ึ บรบิ ทในทนี่ โี้ ดยหลกั แลว้ หมายถงึ
สภาพแวดลอ้ มของชมุ ชนทน่ี กั วจิ ยั จะศกึ ษา สง่ิ ทน่ี กั วจิ ยั ตอ้ งวเิ คราะหค์ อื “ความสมั พนั ธ”์ ระหวา่ งประเดน็
ที่ตอ้ งการศกึ ษากับสภาพแวดลอ้ มประเภทต่างๆ นนั่ เอง คำ� วา่ “บรบิ ท” สามารถพจิ ารณาไดห้ ลายแงม่ มุ
ดงั นี้ กาญจนา แกว้ เทพ (2548)
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35