Page 31 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 31

การวเิ คราะหข์ อ้ มูลการวจิ ยั การสอ่ื สารชุมชน 7-21
            แงม่ มุ แรก กลา่ ววา่ บรบิ ทหมายถงึ “โครงสรา้ งชมุ ชน” ทปี่ ระกอบดว้ ย การสอ่ื สาร ประชากร
ภูมิศาสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ การเมอื ง เศรษฐกิจ สงั คม (การอยู่ร่วมกันและเครอื ญาติ) วัฒนธรรม ศาสนา
ทรัพยากร และการศึกษา
            แงม่ มุ ทส่ี อง นอกจาก โครงสรา้ งชมุ ชนแลว้ ยงั ไดก้ ลา่ วถงึ อกี หนง่ึ ความหมายของคำ� วา่ บรบิ ท
คอื บรบิ ทแวดลอ้ มทใ่ี ชท้ ฤษฎกี ารสอื่ สารเปน็ แกนหลกั โดยพจิ ารณาตวั ผสู้ ง่ สาร สอ่ื หรอื ชอ่ งทางสาร และ
ผรู้ ับสาร โดยพิจารณาบรบิ ทของแต่ละตวั วา่ ประกอบด้วยรายละเอียดใดบา้ ง ตามแผนภาพดงั นี้

 ผู้สื่อสาร         บริบท                  ผู้รับสาร
  ภมู ิหลัง     สื่อ/ช่องทางสาร            ภมู ิหลัง
 ความคดิ                              พฤตกิ รรมการเปดิ รบั
  องคก์ ร           ผใู้ ห้ทนุ         ประสบการณต์ รง
ผลประโยชน์         เทคโนโลยี          ประสบการณ์กับส่ือ
                  ทักษะการใช้
             ประสทิ ธภิ าพการเผยแพร่

             ภาพที่ 7.5 บริบทการสื่อสารชุมชน พิจารณาจากรูปแบบการสื่อสารขั้นพื้นฐาน

ท่ีมา: ปรับปรงุ จาก กาญจนา แกว้ เทพ, 2548, น. 119.

            แง่มุมที่สาม นักวิจัยควรพิจารณาประเด็นของการศึกษา หรือค�ำถามน�ำวิจัยให้ถ่องแท้ ใน
โลกปัจจบุ ันน้ี การศึกษาวจิ ัยการส่ือสารชมุ ชน ไม่ควรพิจารณาเฉพาะบรบิ ทแวดลอ้ มในชมุ ชน แต่ควรจะ
พิจารณา “ความสมั พนั ธ์” ระหวา่ งในชุมชน และนอกชุมชนด้วย เพราะปรากฏการณท์ ีด่ �ำเนินไปในชุมชน
ในปจั จบุ นั นลี้ ว้ นมคี วามสมั พนั ธก์ บั ปจั จยั ภายนอกชมุ ชนไมม่ ากกน็ อ้ ย ดงั นนั้ บรบิ ทแวดลอ้ มประการสำ� คญั
คอื ปจั จยั ภายนอกตา่ งๆ ท่ีสง่ ผลต่อประเด็นทนี่ กั วจิ ัยจะศกึ ษา เช่น การย้ายถ่นิ ของประชากร การเกดิ ขน้ึ
ของห้างสรรพสนิ ค้านอกชมุ ชน การสร้างโรงงานนอกชมุ ชน การสร้างโรงหนังใกลก้ ับชุมชน ความขัดแย้ง
ระหวา่ งนักการเมืองในและนอกชมุ ชน ส่ือมวลชนหลักทีเ่ ปน็ ท่ีนยิ มของชุมชน เปน็ ตน้

กิจกรรม 7.1.4
       แนวทางการวเิ คราะห์ขอ้ มูลการวจิ ัยการสือ่ สารชุมชน ประกอบไปด้วยกีแ่ นวทาง อะไรบา้ ง

แนวตอบกิจกรรม 7.1.4
       แนวทางการวเิ คราะหข์ ้อมูลการวิจัยการสือ่ สารชมุ ชน มี 5 แนวทาง ประกอบด้วย
       1. 	การวิเคราะหส์ าเหตุ-ผลลัพธ์ (Causal relation)
       2. 	การวเิ คราะหห์ น้าท่ี/บทบาท (Functional relation analysis)
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36