Page 25 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 25

การวเิ คราะหข์ ้อมลู การวจิ ยั การสอ่ื สารชมุ ชน 7-15
       8) 	เป็นงานวจิ ยั ทีเ่ น้นการใช้ประโยชนไ์ ดจ้ ริง
       9) 	เป็นการวิจยั กึง่ พัฒนา หรอื การพฒั นาก่งึ วจิ ยั
       10)	ตลอดเส้นทางต้องสร้างความเข้าใจร่วมกันระหว่างนักวิจัย และชาวบ้าน หรือกลุ่มตัวอย่าง
แม้วา่ นกั วจิ ยั จะเป็นชาวบา้ นในชมุ ชนกต็ าม
       จากข้อสดุ ท้ายนเ่ี องที่ กาญจนา แก้วเทพ (2553, น. 41) ระบุวา่
       “การคืนข้อมูลให้ชุมชน (ซ่ึงถือว่าเป็นนวัตกรรมอย่างหนึ่งของ CBR) หลังจากที่เก็บข้อมูลมา
แล้ว หรือมีการวิเคราะห์ร่วมกันกับชุมชน หรือให้ชุมชนตรวจสอบ/แสดงความคิดเห็นต่อการวิเคราะห์
การสร้างความเข้าใจร่วมกันตลอดเส้นทางของการวิจัยนี้ ก่อให้เกิดผลอันดีหลายประการตามมา”
       เมอื่ พิจารณาคุณลกั ษณะของงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น หรอื งานวิจัยเพ่ือชุมชนดงั กล่าวขา้ งต้นท้งั หมด
แลว้ จงึ อาจสรปุ ไดว้ า่ ในการวเิ คราะหข์ อ้ มลู การวจิ ยั เพอื่ การสอื่ สารชมุ ชน กจ็ ำ� เปน็ ตอ้ งมคี ณุ ลกั ษณะทเี่ ออ้ื
ต่อนักวิจัยที่เป็นชาวบ้าน เป็นกระบวนการท่ีสร้างความเข้าใจร่วมกันระหว่างชุมชน และนักวิจัยทุกฝ่าย
ตลอดเสน้ ทางการวจิ ยั ผลการศกึ ษานำ� ไปใชป้ ระโยชนไ์ ดจ้ รงิ ไมเ่ นน้ ขนบทางวชิ าการทเี่ ครง่ ครดั มากเกนิ ไป
มลี กั ษณะยืดหยนุ่ และมีลกั ษณะกระจายอำ� นาจทางความรู้
       กระบวนการวเิ คราะหข์ อ้ มลู การวจิ ยั ซงึ่ อาจกลา่ วไดว้ า่ เปน็ การขมวดแนวคดิ คลคี่ วามจรงิ ภายใน
ข้อมลู ออกมา และแสวงหา “แนวคดิ ” จาก “แบบแผน” ทีป่ รากฏซ้าํ ๆ (แตห่ ากไม่ท�ำวจิ ัย กจ็ ะไม่รคู้ วาม
จริง) ซึ่งเป็นแบบแผนท่ีเกิดจากการ “จัดระบบข้อมูลดิบจ�ำนวนมาก จนเห็นการก่อรูปของปรากฏการณ์
หรอื วฒั นธรรม คา่ นยิ ม อดุ มการณ์ ความเชอ่ื ความศรทั ธา หรอื กจิ กรรม ทกี่ ระจดั กระจายอยใู่ หเ้ ปน็ ระบบ
ระเบยี บแบบแผน สามารถอธิบายไดท้ ั้งปจั จัย ทมี่ า กระบวนการ และผลทีเ่ กิดข้ึน
       ดงั นั้น การวิเคราะหข์ อ้ มลู การวจิ ัยการสอื่ สารชมุ ชน จึงมีลักษณะพิเศษในตวั เอง หรอื มีแนวทาง
“การจดั ระบบ” ทต่ี อ้ งมปี ระสทิ ธภิ าพเพยี งพอจะทำ� ให้ ขอ้ มลู ดบิ เกดิ การกอ่ รปู หรอื ถกู แยกแยะออกมาเพอื่
เผยให้เห็นความจริงได้ ในที่น้ี ขอยกแนวทาง (approaches) ในการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยการส่ือสาร
ชุมชน ของกาญจนา แก้วเทพ (2548)
       แนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยส่ือสารชุมชน (กาญจนา แกว้ เทพ, 2548) เปน็ การวเิ คราะห์
และสงั เคราะห์ ซง่ึ การวเิ คราะห์ หมายถงึ การแยกแยะ สว่ นการสงั เคราะห์ หมายถงึ การนำ� มารวมกนั ซงึ่
ต้องท�ำควบคู่ไปกับการวิเคราะห์ คือ หลังจากท่ีนักวิจัยแยกแยะข้อมูลแล้ว ก็น�ำมารวมกันเพื่อหาข้อสรุป
หรอื แนวคดิ หรอื ทฤษฎีจากข้อมลู น้ัน โดยแบ่งเปน็ 6 รปู แบบ ดังน้ี

            1) 	การวิเคราะหส์ าเหตุ-ผลลพั ธ์ (Causal relation)
            2) 	การวเิ คราะห์บทบาท/หนา้ ท่ี (Functional relation analysis)
            3) 	การวเิ คราะหก์ ระบวนการ (Procedure analysis)
            4) 	การวิเคราะหเ์ ครอื ขา่ ย (Network analysis)	
            5) 	การวิเคราะหค์ วามสัมพนั ธ์ระหวา่ งประเดน็ กบั บรบิ ท (Contextual analysis)
       ส�ำหรับรายละเอียดของแต่ละแนวทาง กาญจนา แก้วเทพ (2548) อธิบายหลักการวิเคราะห์
ประเภทต่างๆ ดงั นี้
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30