Page 22 - การศึกษาชุมชนเพื่อการวิจัยและพัฒนา
P. 22
7-12 การศึกษาชุมชนเพ่อื การวิจยั และพัฒนา
3) การวเิ คราะห์ข้อมลู ต้องเป็นกระบวนการทที่ �ำรว่ มกันกบั ชมุ ชน หรือชาวบา้ น หรือคนในพืน้ ท่ี
ท่ีศึกษา การวิจัยการสื่อสารชุมชนที่ก�ำลังกล่าว ณ ท่ีนี้จะตั้งอยู่บนกระบวนทัศน์การวิจัยแบบมีส่วนร่วม
ดงั นัน้ การท�ำงานร่วมกนั ของท้งั สองฝ่าย คือ ระหวา่ งฝา่ ยนกั วิชาการ/นกั ศกึ ษา/ผู้ท�ำงานด้านสือ่ ซงึ่ เป็น
บคุ คลภายนอก กบั ชาวบา้ น ซงึ่ เปน็ บคุ คลในชมุ ชน จะต้องเริ่มมาตงั้ แต่ต้น มาถงึ การเก็บข้อมูล (ซึ่งตอ้ ง
มีการวิเคราะห์ข้อมูลไปพร้อมกันด้วย หากเป็นแนวทางของการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ) และเมื่อถึง
ตอนวิเคราะห์ข้อมูล เช่น การจัดท�ำดัชนี หรือรหัส หรือใช้กรอบแนวคิดทฤษฎี และสร้างข้อสรุปก็ต้อง
ปรกึ ษาหารอื และลงมือรว่ มกัน
กิจกรรม 7.1.2
กลยุทธ์ส�ำคญั ของการวเิ คราะหข์ ้อมลู การวจิ ยั การส่ือสารมวลชนคืออะไร
แนวตอบกิจกรรม 7.1.2
กลยุทธ์ส�ำคัญของการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยการส่ือสารมวลชน ได้แก่ การท�ำความเข้าใจ
จ�ำโจทยว์ ิจยั หรือคำ� ถามวจิ ัย และวตั ถปุ ระสงค์ และตอ้ งทำ� งานร่วมกับชาวบ้านในชมุ ชนที่ทำ� การศึกษา
เรื่องที่ 7.1.3
ประเภทของข้อมูล
เมื่อนกั วจิ ยั ลงมือเกบ็ ขอ้ มูล นักวจิ ยั จะไดข้ อ้ มลู ดิบ ที่ยังไม่ผ่านการ “วิเคราะห”์ หรือไมผ่ า่ นการ
จดั การอยา่ งเปน็ ระบบเพอื่ นำ� ไปอภปิ รายให้ลมุ่ ลึก หาคำ� ตอบเพ่อื สรปุ เผยแพร่ และแนะแนวทางปฏิบตั ทิ ่ี
เหมาะสม (ดูความหมายการวิเคราะห์ข้อมูลในเร่ืองท่ี 7.1.1) ตัวข้อมูลดิบนี่เองที่นักวิจัยต้องท�ำงานร่วม
อยา่ งหนัก ต่อเน่ือง ดว้ ยความอดทน เพ่อื กล่นั เอา “ผลการศึกษา ขอ้ ค้นพบ หรือทฤษฎ”ี ออกมา ดังน้ัน
จงึ จ�ำเป็นต้องรู้จักลักษณะของข้อมลู ดิบเสียกอ่ น เพอื่ จะได้ “จดั การ” ให้ไดง้ า่ ยขึ้น
ลักษณะของข้อมูลดิบ
แบง่ ตามลกั ษณะการวจิ ัยไดด้ งั น้ี
1) ข้อมูลดิบประเภทการวิจัยเชิงคุณภาพ ประกอบดว้ ย ขอ้ มลู ทอี่ ยใู่ นรปู ของตวั อกั ษร สญั ลกั ษณ์
ต่างๆ ท่ีบ่งบอกถึงวัฒนธรรม ค่านิยม อุดมการณ์ อยู่ในบันทึกการให้สัมภาษณ์ บันทึกการสนทนากลุ่ม
บันทึกสถานการณ์และสถานที่ต่างๆ บันทึกเหตุการณ์และความรู้สึกของกลุ่มตัวอย่าง ส่ือประเภทต่างๆ