Page 31 - ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
P. 31

หลกั การใชค้ �ำ เพือ่ การส่อื สาร ๓-21
       เขา้ กนั เปน็ ปี่เป็นขลุย่
       ถกู คอกันเหมือนคอหอยกบั ลูกกระเดอื ก
       เขาไม่ถกู กันอยา่ งยิง่ เหมือนขมิน้ กบั ปนู
       เป็นต้น
       ค�ำทมี่ ีความหมายคู่กนั น้ี จะใชค้ �ำอ่ืนมาแทนเพือ่ เข้าคกู่ นั ไม่ได้ เชน่ จะใช้คำ� ว่า เขา้ กันเปน็ ป่ีเป็น
ฉง่ิ ไมไ่ ด้ หรือถกู คอกันเหมอื นฟันกับเหงอื กก็ไมใ่ ช้ เนอื่ งจากคำ� คเู่ หล่านีผ้ ใู้ ช้รบั รแู้ ลว้ วา่ ต้องกลา่ วคู่กัน

๓. 	ค�ำที่มีความหมายตรงข้ามกัน

       ค�ำทีม่ คี วามหมายตรงข้ามกนั นี้ มักจะเปน็ คำ� คดู่ ว้ ย คำ� ตรงข้ามในภาษาไทยมีจ�ำนวนมาก และมี
หลายลักษณะ เชน่

       ๓.๑ 	 ค�ำตรงข้ามแบบปฏิเสธ เปน็ คำ� ตรงขา้ มท่ตี ายตัว และเปน็ ค�ำค่ไู ด้ดว้ ย เชน่
            ขาว - ด�ำ
            บญุ - บาป
            คณุ - โทษ
            สขุ - ทกุ ข์
            ง่าย - ยาก
            ชนะ - แพ้
            เขา้ - ออก
            เปน็ ต้น

       ๓.๒ 	ค�ำตรงข้ามแบบระดับ เป็นค�ำตรงข้ามที่ไม่ตายตัว กล่าวคือมีค�ำตรงข้ามมากกว่า ๑ ค�ำ 
เปลยี่ นไปตามสถานการณแ์ ละความหมายของบรบิ ท เชน่

            ร้อน - เย็น
            รอ้ น - หนาว
            อุ่น - เย็น
            ไป – มา
            ไป - กลบั
            ดี - ชัว่
            ดี - เลว
            สงู - ต่าํ
            สูง - เต้ีย
            แขง็ - ออ่ น
            แขง็ - นมุ่
            แขง็ - นิ่ม
            กระดา้ ง - ออ่ น
            เป็นตน้
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36