Page 36 - ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
P. 36
๓-26 ภาษาไทยเพอ่ื การสื่อสาร
หอ้ งแอร์ (air condition room) ใช้ว่า หอ้ งปรับอากาศ
ตัวละครน้อยลกั ษณะ (flat character) ใชว้ ่า ตวั ละครมิตเิ ดยี ว
การเปรยี บเทียบโดยนยั (metaphor) ใชว้ า่ อปุ ลกั ษณ์
เป็นตน้
หากค�ำศัพท์ใดที่เป็นค�ำยืมจากภาษาต่างประเทศ เช่น ภาษาอังกฤษ ยังไม่มีศัพท์บัญญัติหรือ
บญั ญัตแิ ลว้ ไม่เป็นท่ียอมรับ คงใช้ค�ำทบั ศัพท์ภาษานน้ั ไว้ นบั เป็นภาษาแบบแผน เช่น
คอมพิวเตอร์ (computer)
เทคโนโลยี (technology)
อีเมล (e-mail)
ซอฟต์แวร์ (software)
ตัวอย่างข้อความที่ใช้ภาษาแบบแผน
พจนานุกรมศัพท์วรรณกรรมอังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน เป็นผลงานของคณะ
กรรมการบัญญัติศัพท์วรรณกรรมซ่ึงเดิมเป็นคณะอนุกรรมการในคณะกรรมการบัญญัติศัพท์
ภาษาไทยแห่งราชบัณฑิตยสถาน ต่อมาได้ปรับปรุงสถานภาพเป็นคณะกรรมการตามมติของ
คณะรัฐมนตรี เมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๘ คณะกรรมการบัญญัติศัพท์วรรณกรรมมีหน้าที่คัดเลือกศัพท์ทาง
วรรณกรรมจากต�ำราและหนังสืออ้างอิงภาษาต่างประเทศเฉพาะศัพท์ท่ีมีความส�ำคัญและจ�ำเป็นต้อง
ใช้อยู่เสมอ แล้วด�ำเนินการบัญญัติศัพท์เป็นภาษาไทยตามหลักเกณฑ์การบัญญัติศัพท์ของ
ราชบณั ฑติ ยสถาน พรอ้ มทงั้ จดั ท�ำบทนยิ ามศพั ทเ์ พอ่ื ใหส้ ามารถใชศ้ พั ทบ์ ญั ญตั เิ หลา่ นน้ั ไดถ้ กู ตอ้ งตาม
ความประสงค์
(พจนานุกรมศพั ท์วรรณกรรม อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบณั ฑิตยสถาน หน้าค�ำน�ำ)
๒. ระดับภาษากึ่งแบบแผน (Informal)
ค�ำในระดับภาษากึ่งแบบแผนหรือระดับภาษากึ่งราชการและระดับภาษาสนทนาเป็นค�ำที่สุภาพ
แตม่ ีความเคร่งครัดเป็นแบบแผนลดลงกว่าระดับภาษาแบบแผน และมคี วามเปน็ กันเองมากขึน้
ลักษณะของภาษากึ่งแบบแผน มีดังน้ี
๑) ใช้ภาษาสุภาพ แตล่ ดระดบั ความเครง่ ครัดลงมาเปน็ ภาษาทใี่ ช้สอื่ สารในชวี ติ ประจำ� วนั หรอื
ขอ้ เขยี นที่ไมเ่ ปน็ วชิ าการ หรือราชการ เชน่ ใชค้ �ำวา่ พอ่ แม่ แทนคำ� ว่า บิดา มารดา คำ� ว่า ต้องการ แทน
ค�ำวา่ มีความประสงค์หรือปรารถนา เช่น
พอ่ แม่ต้องการให้ลูกเปน็ คนดี
๒) ใชค้ ำ� ยอ่ ทย่ี อมรบั และรบั รกู้ นั เปน็ สากล เชน่ นางสาวอาจยอ่ วา่ น.ส. ชอื่ เดอื นบางครง้ั อาจยอ่
ได้เช่น มกราคม ยอ่ เป็น ม.ค. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ย่อเป็น ผศ. หม่อมราชวงศ์ ย่อเปน็ ม.ร.ว. เปน็ ต้น