Page 49 - ความเป็นครู
P. 49

คุณธรรมจริยธรรมส�ำหรับครู 14-39

       2.4 	เปน็ ผใู้ ชว้ ธิ กี ารทถี่ กู ตอ้ ง หมายถงึ เปน็ ผกู้ ระทำ� ถกู ตอ้ งตามกระบวนการ วธิ กี ารทอี่ งคก์ รกำ� หนดไว้
ไม่ปฏิบัติโดยข้ามข้ันตอน หรือข้ามผู้บังคับบัญชา

3. 	การพฒั นาบทบาทของหน่วยงาน

       คุรุสภาเป็นองค์กรวิชาชีพที่รับผิดชอบเก่ียวกับจรรยาบรรณของครูและผู้ประกอบวิชาชีพทาง
การศกึ ษาอน่ื ๆ แตก่ ารพฒั นาจรรยาบรรณของครตู อ้ งอาศยั หนว่ ยงานตา่ ง ๆ มารว่ มมอื กนั ซงึ่ อาจดำ� เนนิ การ
ตามหลักการดังต่อไปน้ี (ศูนย์ส่งเสริมจริยธรรม สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน, 2548, น. 16-23)

       3.1		การกำ� หนดมาตรฐานจรรยาบรรณ หน่วยงานที่รับผิดชอบการก�ำหนดจรรยาบรรณ ในวิชาชีพ
ควรจัดท�ำจรรยาบรรณตามแนวทางดังนี้

            3.1.1	 ก�ำหนดจรรยาบรรณให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและปัญหาท่ีองค์กรประสบอยู่
            3.1.2 	เลอื กรปู แบบทเี่ หมาะสมกบั องคก์ ร เนอื่ งจากการจดั ทำ� จรรยาบรรณสามารถทำ� ไดห้ ลาย
รูปแบบ เช่น ในลักษณะของข้อบังคับ ประกาศ ระเบียบ ข้อก�ำหนด เป็นต้น
            3.1.3	 เขยี นจรรยาบรรณเปน็ เชงิ พฤตกิ รรมทชี่ ดั เจน สนั้ กระชบั และเขา้ ใจงา่ ย ไมซ่ าํ้ กบั หลกั การ
หรือแนวทางปฏิบัติท่ีระบุอยู่แล้วในรูปแบบวินัย ข้อบังคับ ค�ำส่ัง เพราะเป็นข้อท่ีต้องปฏิบัติควบคู่กันอยู่แล้ว
            3.1.4 	ก�ำหนดข้อพึงปฏิบัติที่อยู่ในวิสัยที่จะปฏิบัติตามได้
       3.2 	การนำ� จรรยาบรรณไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ การจะท�ำให้จรรยาบรรณประสบผลตามเป้าหมายจะต้องมี
มาตรการผลักดันให้บังเกิดผลในทางปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม โดยใช้แนวทางท่ีส�ำคัญ เช่น
            3.2.1	 ก�ำหนดเป็นองค์ประกอบส�ำคัญในกระบวนการสรรหา
            3.2.2	 สร้างเป็นเง่ือนไขในการปฐมนิเทศ
            3.2.3	 บรรจุและสอดแทรกไว้ในหลักสูตรการพัฒนาเจ้าหน้าท่ี
            3.2.4	 ใช้เป็นองค์ประกอบในการพิจารณาเลื่อนข้ันเงินเดือนหรือเล่ือนต�ำแหน่ง
            3.2.5	 ยกย่องเชิดชูเกียรติผู้ท่ีประพฤติตามมาตรฐานให้เป็นท่ีปรากฏอย่างสมํ่าเสมอและ
ต่อเน่ือง
            3.2.6	 ใช้เป็นเคร่ืองมือในการสร้างวัฒนธรรมองค์กร
            3.2.7	 ผู้บังคับบัญชาประพฤติตนในฐานะเป็นต้นแบบ (Role Model)
       3.3		การสร้างความส�ำเร็จ การน�ำจรรยาบรรณไปสู่การปฏิบัติให้ประสบความส�ำเร็จน้ันต้องสร้าง
มาตรการเสริมและสร้างปัจจัยแห่งความส�ำเร็จ ได้แก่
            3.3.1	 มาตรการเสรมิ หรือปัจจัยสนับสนุน เช่น

                1)	 การสร้างความรู้และเจตคติให้ทุกคนรับรู้ เข้าใจ และตระหนักถึงผลดีและคุณค่าท่ี
จะได้รับจากการประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณ

                2)	 การใช้มาตรการยกย่องให้รางวัล เช่น จัดให้มีการชมเชย มอบรางวัลแก่ผู้ประพฤติ
ในกรอบของจรรยาบรรณ เป็นต้น
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54