Page 47 - ความเป็นครู
P. 47

คุณธรรมจริยธรรมส�ำหรับครู 14-37

ตารางที่ 14.7 สรุปผลการด�ำเนินการประพฤตผิ ดิ จรรยาบรรณของวชิ าชพี ปี 2555-2558

  ค�ำวินจิ ฉัยของคณะกรรมการมาตรฐานวชิ าชีพ/  ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 รวม
            คำ� ส่ังเลขาธกิ ารคุรสุ ภา
                                               3 27 8 - 38
ไม่รับไว้พิจารณา                               - 11 24 23 58
ยุติเรื่อง                                     - 5 4 2 11
ยกข้อกล่าวหา/ข้อกล่าวโทษ                       1 00 - 1
ตักเตือน                                       2 31 - 6
ภาคทัณฑ์                                       2 43 - 9
พักใช้ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ                    - -2 - 2
เพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ                   8 50 42 25 125
รวม

       จากผลการด�ำเนินงานกรณีผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาประพฤติผิดจรรรยาบรรณของวิชาชีพ
จ�ำนวน 125 คดี จ�ำแนกประเภทของความผิดได้ 7 กรณี คือ การปฏิบัติหน้าท่ีโดยไม่ชอบ 16 คดี ท�ำร้าย
ร่างกาย (นักเรียนและผู้ประกอบวิชาชีพด้วยกัน) หรือลงโทษนักเรียนผิดระเบียบของกระทรวงศึกษาธิการ
23 คดีชู้สาว 18 คดี ความผิดเก่ียวกับเพศ 16 คดี การพนันหรือดื่มสุรา 1 คดี ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ 15
คดี และอื่น ๆ นอกเหนือจากท่ีกล่าวมา เช่น ยึดโทรศัพท์หรือทองของนักเรียน น�ำความเท็จฟ้องผู้อื่น 26 คดี

       บณั ฑติ ตา จนิ ดาทอง (2559, น. 147) ได้เสนอตวั อย่างการประพฤติผิดจรรยาบรรณต่อตนเอง กรณี
ผู้ประกอบวิชาชีพครูอาสาช่วยเหลืองานวัดเก็บรักษาเงินในงานผูกพัทธสีมาฝังลูกนิมิต ถือโอกาสน�ำเงินที่
ประชาชนบริจาคบางส่วนใส่กระเป๋าตนเอง ซึ่งทางวัดจับภาพไว้ได้ด้วยกล้องวงจรปิด แล้วน�ำไปให้สื่อมวลชน
ลงทางส่ืออินเทอร์เน็ต

       คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพพิจารณาแล้วเห็นว่าเป็นการเอาทรัพย์ของผู้อื่นไปโดยทุจริต จึงมี
ความผิดฐานลักทรัพย์ซ่ึงเป็นเงินบริจาคโดยประชาชนที่มีจิตศรัทธาได้ร่วมกันบริจาคท�ำบุญให้แก่วัด
พฤติกรรมดังกล่าวส่งผลกระทบต่อความศรัทธาของประชาชน และเป็นแบบอย่างท่ีไม่ดีแก่ศิษย์หรือผู้รับ
บริการหรือประชาชน รวมทั้งเสียชื่อเสียงขององค์กรวิชาชีพอันเป็นการกระท�ำผิดจรรยาบรรณต่อตนเองและ
จรรยาบรรณวิชาชีพ ตามมาตรา 50(1)(2) แห่งพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546
จึงมีมติให้เพิกถอนใบอบุญาตประกอบวิชาชีพของผู้ประกอบวิชาชีพครูดังกล่าว

       อน่ึง การท่ีจรรยาบรรณมีลักษณะเป็นหลักการทางจริยธรรมส�ำหรับคนทั้งหมดในสังคมของวิชาชีพ
เช่นเดียวกับที่หลักธรรมเป็นหลักจริยธรรมของทุกคนของศาสนาน้ัน ท�ำให้ครูท่ีมีพ้ืนฐานทางคุณธรรม
จรยิ ธรรมมพี ฤตกิ รรมทแี่ สดงถงึ ความเคารพหลกั จรรยาบรรณในวชิ าชพี และยงั มคี รอู กี สว่ นหนง่ึ ทไ่ี มย่ อมรบั
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52