Page 54 - สื่อ นวัตกรรม และการวัดและประเมินผล การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 54

5-44 สื่อ นวัตกรรม และการวัดและประเมินผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ท�ำให้ผู้เรียนได้รับรู้มโนมตินั้นอย่างชัดเจนและครบถ้วน เป็นการสร้างความหมายให้เกิดขึ้นในการรับรู้ของ
ผู้เรียน ผู้สอนเป็นผู้จัดการจัดหาส่ือและวิธีการที่เหมาะสมน�ำเสนอต่อผู้เรียน ผู้เรียนก็จะเกิดการเรียนรู้
มโนมติต่าง ๆ น้ันได้

2. 	ส่อื ประกอบการจดั การเรยี นการสอนเพ่อื ปรับมโนมตทิ คี่ ลาดเคลอ่ื น

       ในการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ มีบ่อยคร้ังพบว่าผู้เรียนมีความเข้าใจมโนมติบางประการที่คลาด-
เคล่ือน หรืออาจกล่าวได้ว่าผู้เรียนมีมโนมติที่ไม่ถูกต้องในเร่ืองน้ัน ๆ ซึ่งผู้สอนต้องหาวิธีแก้ไขโดยใช้ข้ันตอน
ท่ีนัสสบัม และโนวิค (Nussbaum and Novic, 1982 อ้างถึงใน จุฬารัตน์ ธรรมประทีป, 2554, น. 63-64)
เสนอไว้ 4 ข้ันตอน คือ 1) ข้ันแสดงให้เห็นมโนมติที่คลาดเคลื่อนของผู้เรียน 2) ขั้นอภิปรายและประเมิน
มโนมติที่คลาดเคล่ือน 3) ข้ันสร้างความขัดแย้งทางปัญญากับมโนมติเดิม 4) ข้ันส่งเสริมและแนะน�ำทาง
การปรับโครงสร้างของแนวคิด ซ่ึงจะมีการน�ำสื่อไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนด้วยดังตัวอย่าง การจัด
การเรียนการสอนเพื่อปรับเปลี่ยนมโนมติที่คลาดเคลื่อนของผู้เรียน เร่ือง เต่าเป็นสัตว์คร่ึงบกครึ่งนํ้า

         ตารางที่ 5.4 การใชส้ อ่ื การสอนในขั้นตอนส�ำคัญของการปรบั เปลยี่ นมโนมตทิ ีค่ ลาดเคลอื่ น
	 ของผ้เู รยี นเรอ่ื งเต่าเปน็ สัตวค์ รึ่งบกครึ่งน้ํา

  ขนั้ ตอนส�ำคญั                            กิจกรรมและสอื่ การเรียนการสอน
1. 	การแสดงให้เห็น	
	 ถงึ มโนมตทิ คี่ ลาด-  1.	ผ สู้ อนเสนอรายชอื่ และรปู ภาพของสตั วท์ มี่ กี ระดกู สนั หลงั หลายชนดิ ไดแ้ ก่ ปลาชอ่ น
	 เคลื่อนของผู้เรียน      ปลาไหล ปลาตีน กบ อึ่งอ่าง คางคก เขียด จิ้งเหลน ก้ิงก่า เต่า จระเข้ ตุ๊กแก
                          ไดโนเสาร์ งู นกแกว้ นกกา นกฮูก คา้ งคาว ววั มา้ แมว สุนัข เสือ วาฬ โลมา แมวนํา้
2.	 การอภิปรายและ         มนุษย์ ผู้สอนจัดผู้เรียนเป็นกลุ่ม ส่ังงานให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มด�ำเนินการจัดจ�ำแนก
	 ประเมินมโนมติ           สัตว์ตัวอย่างที่ก�ำหนดให้ โดยให้ท�ำเป็นแผนผังแสดงการจัดกลุ่มเป็นหมวดหมู่
	 ที่คลาดเคล่ือน
                        2.	ผ ู้สอนให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มน�ำเสนอผลงาน แผนผัง แสดงการจัดกลุ่มสัตว์ตัวอย่าง
3.	 การสร้างความ          โดยให้มีการเปรียบเทียบผลการน�ำเสนอเพื่อระบุว่ามีข้อมูลท่ีแตกต่างกันหรือไม่
	 ขัดแย้งทางปัญญา         อย่างไร เช่น มีการระบุว่าบางกลุ่มจัดให้เต่าเป็นสัตว์คร่ึงบกคร่ึงน้ํา บางกลุ่มจัดให้
	 กับมโนมติเดิม           เต่าเป็นสัตว์เลื้อยคลาน

                        3.	ผ ู้สอนน�ำเสนอความรู้เก่ียวกับคุณสมบัติท่ีเป็นลักษณะเฉพาะของสัตว์ประเภทปลา
                          สัตว์ครึ่งบกคร่ึงนํ้า สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์ปีก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ํานม โดยใช้
                          เกณฑ์สภาพที่อยู่อาศัย ลักษณะการสืบพันธุ์ การออกลูกเป็นตัว/ไข่ และการเป็น
                          สัตว์เลือดอุ่น/เย็น โดยใช้ส่ือที่น่าสนใจ เช่น ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว แล้วให้
                          ผู้เรียนแต่ละกลุ่มใช้ความรู้น้ีในการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่เป็นค�ำตอบ
                          ในแผนผังของตนเอง แล้วให้ระบุข้อมูลท่ีไม่สอดคล้องกับความรู้ที่ได้เรียนรู้ใหม่
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59