Page 64 - สื่อ นวัตกรรม และการวัดและประเมินผล การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 64
5-54 สื่อ นวัตกรรม และการวัดและประเมินผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ส่ือการสอนท่ีใช้เป็นตัวอย่างการเขียนผังกราฟิกแบบวงกลมเปรียบเทียบท่ีน�ำเสนอได้ด้วยวิธีต่าง ๆ
อาจเป็นสื่อตัวอักษรท่ีเขียนในกระดาษ หรือการน�ำเสนอข้อมูลด้วยโปรแกรม Power point ที่สามารถเรียก
ตัวอักษรให้ปรากฏได้ทีละส่วนจะช่วยกระตุ้นความสนใจได้มากเช่นกัน และอาจมีการก�ำหนดให้ผู้เรียน
ออกแบบการเขียนผังกราฟิกแบบวงกลมเปรียบเทียบกับเน้ือหาเร่ืองอื่นโดยใช้สื่อวัสดุหรือวิธีการตามความ
ต้องการของผู้เรียนได้
6) แบบมโนมตเิ หลอ่ื มซอ้ น (Overlopping Concepts) เหมาะกับเน้ือหาที่มีการแสดงความสัมพันธ์
ของข้อมูลมากกว่า 2 ชุดท่ีมีบางส่วนร่วมกันและบางส่วนต่างกัน ดังตัวอย่างข้อมูลของสมบัติของสาร 3 อย่าง
คือ การเดือด การระเหย และการระเหิด ดังภาพ
1
45
7
26 3
1 แสดงลักษณะเฉพาะของการเดือด คือการเปลี่ยนจากของเหลวเป็นไอทั่วท้ังก้อน
2 แสดงลักษณะเฉพาะของการระเหย คือการเปลี่ยนจากของเหลวเป็นไอเฉพาะผิวหน้าของสารก่อน
3 แสดงลกั ษณะเฉพาะของการระเหดิ คอื การเปลยี่ นจากของแขง็ เปน็ ไอโดยไมผ่ า่ นการเปน็ ของเหลว
และเกิดท่ีผิวหน้าของสารก่อน
4 แสดงส่ิงท่ีเหมือนกันของการเดือดและการระเหยซ่ึงต่างจากการระเหิด คือการเปลี่ยนสถานะจาก
ของเหลวเป็นไอ
5 แสดงสง่ิ ทเี่ หมอื นกนั ของการเดอื ดกบั การระเหดิ ซง่ึ ตา่ งจากการระเหย คอื การกลายเปน็ ไอทอ่ี ณุ หภมู ิ
ตํ่ากว่าจุดหลอมเหลว
6 แสดงสง่ิ ทเี่ หมอื นกนั ของการระเหยและการระเหดิ ซงึ่ ตา่ งจากการเดอื ด คอื การเปลยี่ นสถานะเฉพาะท่ี
ผวิ หนา้
7 แสดงลักษณะท่ีเหมือนร่วมกันของการเดือด การระเหย และการระเหิด คือเป็นการเปล่ียนสถานะ
โดยการดูดพลังงานจากส่ิงแวดล้อม
ส่ือที่ใช้ในการสอนคือส่ือวัสดุกราฟิก หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกเพื่อแสดงลักษณะท่ีเด่น
เฉพาะของข้อมูลแต่ละชุด ลักษณะร่วมของข้อมูลแต่ละคู่ และลักษณะร่วมของข้อมูลทุกชุด