Page 77 - สื่อ นวัตกรรม และการวัดและประเมินผล การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 77

ส่ือการจัดการเรียนรู้ที่ใช้ในการสอนวิทยาศาสตร์จ�ำแนกตามวิธีสอน 5-67

            ส่ือการสอนที่ใช้คือ แบบบันทึกผลการท�ำงานด้วยตนเองของผู้เรียน แบบสังเกตพฤติกรรม
ความก้าวหน้าและการติดตามผลการท�ำงานของผู้เรียน คู่มือการใช้อุปกรณ์/เคร่ืองมือท่ีผู้สอนต้องใช้ในกรณี
ที่ต้องฝึกให้ผู้เรียนใช้อุปกรณ์/เคร่ืองมือบางอย่างท่ีจ�ำเป็นต้องใช้ในการท�ำโครงงาน

       9) 	ขัน้ เขยี นรายงานโครงงาน
       ในขั้นตอนนี้ผู้สอนมีบทบาทในการให้ความรู้เก่ียวกับการเขียนรายงานโครงงาน และจัดการให้
ผู้เรียนได้เขียนรายงานโครงงาน
       ส่ือการสอนที่ใช้คือ ส่ือประกอบการให้ความรู้ในการเขียนรายงานโครงงาน ตัวอย่างและคู่มือช่วย
น�ำทางให้ผู้เรียนเขียนรายงานโครงงานได้
       10)		ขน้ั เสนอผลงานและจดั แสดงผลงานโครงงาน
       ในข้ันตอนนี้ผู้สอนมีบทบาท ดังนี้

            10.1	 ให้ความรู้เก่ียวกับการจัดการแสดงผลงานโครงงาน
            10.2 	จัดการให้ผ้เู รยี นออกแบบการจดั แสดงผลงานโครงงาน โดยแนะนำ� การวางหวั ขอ้ ตา่ ง ๆ
รวมท้ังข้อความท่ีใช้ในการเสนอผลงาน
            10.3 	เข้าชมและให้ค�ำติชมผลงานและรูปแบบการจัดแสดง
       ส่ือการสอนท่ีใช้ เป็นวัสดุ/อุปกรณ์ที่ผู้เรียนใช้ในการจัดแสดงผลงานอาจเป็นสิ่งที่ผู้เรียนจัดหามา
เองหรือผู้สอนอ�ำนวยความสะดวก หรือขอความอนุเคราะห์จากสถานศึกษาหรือชุมชนมาให้
       11) 	ขนั้ อภปิ รายผลการเรยี นรู้
       ในข้ันตอนน้ีผู้สอนมีบทบาทในการจัดโอกาสให้ผู้เรียนได้สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้และประโยชน์จากการ
ท�ำโครงงาน รวมถึงการได้แสดงความรู้สึกเก่ียวกับคุณค่าของการท�ำโครงงาน
       ส่ือการสอนท่ีใช้คือ การจัดบรรยากาศท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนได้สะท้อนความรู้สึกของตนเองเก่ียวกับ
การได้ท�ำโครงงานทุกแง่มุมโดยวิธตี ่าง ๆ เช่น การเขยี น/การพูดแสดงออกอย่างอสิ ระและรสู้ ึกปลอดภัย

3. 	ส่ือการสอนในการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยสร้าง
  เส้นทางการเดินเรื่อง

       การจัดการเรียนรู้โดยสร้างเส้นทางการเดินเรื่อง (storyline) เป็นวิธีการจัดการเรียนการสอน
ท่ีมีการบูรณาการเน้ือหาและกระบวนการในหลักสูตร ด้วยการน�ำเนื้อหาของวิชาต่าง ๆ เช่น สังคมศึกษา
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ส่ิงแวดล้อม ศิลปะดนตรี ภาษาและการงานอาชีพรวมกัน โดยผู้สอนก�ำหนดหัว
เรื่องหลักแล้วด�ำเนินกิจกรรมการเรียนการสอนตามเส้นทางการเดินเร่ือง โดยใช้ค�ำถามน�ำเปิดประเด็นหรือ
ตัวเชื่อมในการด�ำเนินเร่ืองบนแนวทางท่ีผู้สอนก�ำหนดไว้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร ผู้เรียนเป็นผู้ด�ำเนินการ
ท�ำกิจกรรมเป็นเจ้าของเร่ืองราวหรือประสบการณ์ต่าง ๆ ผู้เรียนจะได้น�ำความรู้และประสบการณ์เดิมมาใช้
ในการวิเคราะห์เช่ือมโยงเพ่ือตอบค�ำถาม สร้างแนวคิดของตนเอง เพิ่มเติมประสบการณ์ใหม่จากการท�ำ
กิจกรรมต่าง ๆ ผ่านเส้นทางการเดินเรื่องที่มีองค์ประกอบที่ส�ำคัญ 4 ส่วนคือ ฉาก ตัวละคร การด�ำเนินชีวิต
และเหตุการณ์
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82