Page 74 - สื่อ นวัตกรรม และการวัดและประเมินผล การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 74

5-64 ส่ือ นวัตกรรม และการวัดและประเมินผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

       1) 	ข้นั ศกึ ษาความหมายและประเภทของโครงงาน
       ในขน้ั ตอนนกี้ ำ� หนดใหผ้ สู้ อนจดั การใหผ้ เู้ รยี นมคี วามรเู้ กย่ี วกบั ความหมายและประเภทของโครงงาน
กิจกรรมที่เหมาะสมคือการอุปนัยสองครั้งเพ่ือให้ผู้เรียนเรียนรู้และให้ความหมายของโครงงานวิทยาศาสตร์
ไดด้ ว้ ยตนเอง และเพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นแยกแยะจดั กลมุ่ ประเภทของโครงงานวทิ ยาศาสตรไ์ ดด้ ว้ ยตวั เอง สอ่ื ทจ่ี ำ� เปน็
ต้องใช้คือตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์หลายตัวอย่างท่ีครอบคลุมประเภทท้ัง 4 ประเภทของโครงงาน
วิทยาศาสตร์คือประเภทส�ำรวจ ประเภททดลอง ประเภทสิ่งประดิษฐ์และประเภททฤษฎี โดยสื่อที่ใช้อาจ
น�ำเสนอด้วยข้อมูลที่เป็นเอกสารที่เป็นชื่อของโครงงานวิทยาศาสตร์หรือให้รายละเอียดพอสังเขปที่จะท�ำให้
ผู้เรียนรวบรวมประเด็นที่แสดงลักษณะเฉพาะของโครงงานวิทยาศาสตร์แต่ละประเภทได้ หรือน�ำเสนอด้วย
วีดิทัศน์ส้ัน ๆ ท่ีน�ำเสนอข้อมูลของโครงงานวิทยาศาสตร์หลายโครงงานดังกล่าว ทั้งน้ีผู้สอนอาจเลือกใช้
ส่ือวิธีสอนแบบร่วมมือจิกชอว์ให้ผู้เรียนแบ่งเป็นกลุ่มบ้านท่ีมีสมาชิกบ้านละ 4 คน แล้วแยกย้ายไปศึกษา
ข้อมูลของโครงงานวิทยาศาสตร์ 4 ประเภทที่ท�ำเป็นกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ แล้วให้สมาชิกในกลุ่มผู้เชี่ยวชาญกลับ
มาแลกเปลยี่ นขอ้ มลู กนั ในกลมุ่ บา้ น แลว้ ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ บา้ นนำ� เสนอขอ้ มลู ความหมายและประเภทของโครงงาน
วิทยาศาสตร์ตามความเข้าใจของกลุ่มในลักษณะของการเขียนแผนผังความคิด ซ่ึงผู้สอนต้องจัดเตรียม
ส่ือวัสดุให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มบ้านได้ใช้ในการน�ำเสนองาน ส่ือท่ีพึงระวังและหลีกเล่ียงส�ำหรับผู้สอนคือการใช้
สื่อเอกสารท่ีบอกความรู้โดยตรงของความหมายและประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์ เพราะจะท�ำให้ผู้เรียน
เกดิ การเรยี นรใู้ นระดบั รจู้ ำ� เทา่ นนั้ และยงั ขาดโอกาสทจี่ ะไดใ้ ชก้ ารคดิ วเิ คราะหแ์ ละสงั เคราะห์ ซง่ึ เปน็ กระบวนการ
ส�ำคัญของการเรียนรู้อีกด้วย
       2) 	ขนั้ สำ� รวจเรอื่ งที่จะทำ� โครงงาน
       ในขั้นตอนนี้ผู้สอนมีบทบาทในการสอน ดังน้ี

            2.1 	ให้แนวคิดในการส�ำรวจหัวข้อเรื่องในขอบเขตท่ีเป็นเร่ืองทางวิทยาศาสตร์
            2.2 	ให้ผู้เรียนศึกษาตัวอย่างและหัวข้อปัญหาที่ท�ำโครงงานในขอบเขตท่ีเก่ียวข้องกับ
วิทยาศาสตร์
            2.3 	ให้ผู้เรียนฝึกคิดช่ือเรื่องโครงงานวิทยาศาสตร์
            2.4 	ให้ผู้เรียนน�ำเสนอชื่อโครงงานและร่วมกันวิพากษ์ช่ือโครงงานของตนกับผู้เรียนคนอื่น ๆ
ในประเด็นความเหมาะสม ประโยชน์ และความเป็นไปได้ในการท�ำ
            2.5 	ให้ผู้เรียนศึกษาบทคัดย่อของโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทต่าง ๆ
       ส่ิงที่ใช้ในการสอนข้ันตอนนี้คือตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์ที่มีรายละเอียดพอสังเขป แต่ต้องใช้
จ�ำนวนมากหลายเร่ืองเพ่ือให้มีความหลากหลายและครอบคลุมเน้ือหาทางวิทยาศาสตร์หลายสาขาให้ผู้เรียน
มีความคิดท่ีกว้างไกลที่เหมาะสมน่าจะเป็นส่ือเอกสาร และสื่อวิธีการเรียนแบบร่วมมือเทคนิคต่าง ๆ ที่จะ
ท�ำให้ผู้เรียนแต่ละคนได้ศึกษาข้อมูลของโครงงานวิทยาศาสตร์ต่อเร่ืองกันอาจเป็นรายบุคคลหรือคู่สองคน
ช่วยกันศึกษาแล้วน�ำมาเสนอในกลุ่มใหญ่เพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79