Page 71 - สื่อ นวัตกรรม และการวัดและประเมินผล การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 71

สื่อการจัดการเรียนรู้ท่ีใช้ในการสอนวิทยาศาสตร์จ�ำแนกตามวิธีสอน 5-61

            2.5 	เรียงล�ำดับคำ� อธบิ ายทเ่ี ป็นไปได้ ต้ังสมมตฐิ านและพยายามตรวจสอบสมมตฐิ านท่ผี ู้เรียน
คดิ คน้ ขนึ้ มา บางสมมตฐิ านจะอภปิ รายทำ� ความเขา้ ใจตรงกนั ไดเ้ ลย แตม่ บี างอยา่ งยงั เปน็ ปญั หาอยแู่ ละจำ� เปน็
ต้องไปค้นคว้าเพ่ิมเติม

            2.6 	กลุ่มผู้เรียนร่วมกันก�ำหนดหัวข้อท่ีต้องค้นหาเพิ่มเติม เพ่ือน�ำมาตรวจสอบสมมติฐาน
เป็นการก�ำหนดวัตถุประสงค์การเรียนรู้ด้วยตัวผู้เรียนเอง ซึ่งผู้สอนต้องใช้เทคนิคทางอ้อม ตัวอย่างเช่น

                - 	การเกิดมลพิษทางอากาศ
                - 	สาเหตุของการเกิดมลพิษทางอากาศ
                - 	การรายงานค่าฝุ่นละอองในอากาศ
                - 	แผนที่จังหวัดภาคเหนือ
       ผู้สอนให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มสรุปประเด็นปัญหาที่แต่ละกลุ่มก�ำหนดข้ึน โดยจะพบว่าในแต่ละกลุ่ม
ประเด็นปัญหาไม่จ�ำเป็นต้องเหมือนกัน แต่จะใกล้เคียงกันและมีวัตถุประสงค์หลักครบทุกกลุ่ม
       3. 	 ศึกษาหาข้อมลู หลังจากได้วัตถุประสงค์การเรียนรู้แล้ว ให้ผู้เรียนแยกย้ายไปศึกษาด้วยตนเอง
จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ โดยทุกคนในกลุ่มต้องเสาะหาข้อมูลความรู้ต่าง ๆ ด้วยตนเอง โดยที่ไม่มีการแบ่ง
หน้าท่ีไม่แบ่งหัวข้อกัน ทุกคนต้องค้นคว้าให้ครบทุกหัวข้อจากแหล่งความรู้ที่อาจแตกต่างกันได้
       4. 	 หาขอ้ สรปุ ร่วมกัน ผู้เรยี นกลบั มารวมกลมุ่ อีกครงั้ เพอื่ ร่วมกนั อภิปรายถกเถยี งถงึ หวั ข้อความรู้
ที่ได้เรียนด้วยตนเอง โดยการอภิปรายในประเด็นต่าง ๆ ท่ีแต่ละคนได้ค้นคว้า น�ำมาเสริมเพิ่มเติม เพ่ือให้
เกิดความสมบูรณ์ครบถ้วน แต่ถ้าข้อมูลที่ได้มามีความขัดแย้งกันในกลุ่มผู้เรียนจะต้องช่วยกันพิจารณาว่า
ควรจะเชื่อข้อมูลใด แหล่งท่ีมาแหล่งใดน่าเช่ือถือมากกว่ากัน หรืออาจต้องหาแหล่งอ่ืนเพื่อมายืนยันเพ่ิมเติม
       ให้นักเรียนน�ำข้อมูล ความรู้ที่ได้จากการแก้ปัญหามาเขียนเป็นข้อควรปฏิบัติในการรักษาสภาพ
อากาศให้สะอาด เพ่ือการอยู่ร่วมกันอย่างปลอดภัย โดยอาจน�ำเสนอเป็นแผ่นพับ ภาพโฆษณา การแสดง
ละคร หรือวิธีการอ่ืน ๆ ตามความสนใจของผู้เรียน
       จากกิจกรรมตัวอย่างส่ือที่ใช้สอน เป็นดังต่อไปนี้
            1) 	ข้ันก�ำหนดปัญหา ผู้สอนจะต้องน�ำเสนอสถานการณ์ปัญหา (scenario) แก่ผู้เรียน ส่ือ
ที่ใช้จะต้องน�ำเสนอข้อมูลที่ผู้เรียนจะน�ำไปใช้เป็นข้อมูลในการก�ำหนดปัญหาได้ และปัญหานั้นจะต้องน�ำพา
ผู้เรียนให้ได้การเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้ท่ีต้ังไว้ ดังน้ัน ผู้สอนจะต้องวิเคราะห์สิ่งที่ต้องการให้ผู้เรียน
ไดเ้ รยี นรจู้ ากจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรกู้ อ่ น แลว้ นำ� ขอ้ มลู นน้ั มาสรา้ งเปน็ สถานการณป์ ญั หา โดยใหด้ คู ลปิ วดี ทิ ศั น์
แสดงภาพเคล่ือนไหว และเสียงประกอบ ท่ีมีเน้ือหาสอดคล้องกับประเด็นท่ีต้องการให้ผู้เรียนเกิดประเด็น
ปัญหาเพื่อน�ำไปสู่การศึกษาและสืบค้นต่อไป ดังนั้น ข้อมูลที่แสดงในส่ือต้องมีความชัดเจน และครอบคลุม
ประเด็นท่ีต้องการให้ผู้เรียนเรียนรู้
            2) 	ข้ันท�ำความเข้าใจปัญหา ผู้สอนต้องกระตุ้นให้ผู้เรียนคิดวิเคราะห์ข้อมูลจากสถานการณ์
ปัญหาเพ่ือท�ำความเข้าใจปัญหา ผู้สอนต้องบันทึกข้อมูลท่ีผู้เรียนแสดงความสนใจบนกระดานหรือการบันทึก
ในลักษณะอ่ืน ๆ เพ่ือช่วยการคิดเช่ือมโยงของผู้เรียน ส่ือท่ีใช้คือวัสดุและอุปกรณ์ที่ช่วยบันทึกและ
แสดงข้อมูล
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76