Page 82 - สื่อ นวัตกรรม และการวัดและประเมินผล การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 82
13-72 สื่อ นวัตกรรม และการวัดและประเมินผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
rtt = k 1— X(1 — X/k)
k—1 S2
หรือเขียนใหม่ k X(k — X/)
k—1 S2
rtt = 1—
เมอื่ k คือ จำ� นวนขอ้ สอบในแบบทดสอบ
X คอื คะแนนเฉล่ีย
S2 คือ ความแปรปรวนของคะแนนท้งั หมด
จากสตู ร KR-20 และ KR-21 จะเห็นว่า KR-20 ต้องค�ำนวณคา่ ความยากของแตล่ ะ
ข้อคำ� ถาม สว่ นสูตร KR-21 จะตอ้ งคำ� นวณคะแนนเฉลยี่ เพราะฉะน้นั KR-20 จึงใหค้ า่ ความเที่ยงทแ่ี ม่นย�ำกวา่
KR-21 และค่าท่คี �ำนวณจะมีค่าสูงกว่าการใชส้ ูตร KR-21
2) การตรวจสอบความเทยี่ งเชงิ โดยวธิ สี มั ประสทิ ธแ์ิ อลฟา (Alpha coefficient Method)
เป็นการวิเคราะห์คุณภาพของเคร่ืองมือวัดทักษะกระบวนการและการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์ โดยพิจารณา
จากความสอดคล้องของข้อค�ำถามจากเคร่ืองมือชุดเดียวกัน ซ่ึงได้จากการวัดกลุ่มตัวอย่างเพียงกลุ่มเดียว
แล้วน�ำผลการตอบมาค�ำนวณค่าความเที่ยง โดยใช้สูตรสัมประสิทธ์ิแอลฟา (Coefficient Alpha) วิธีน้ี
เหมาะสมท่ีจะใช้กับเครื่องมือท่ีข้อค�ำถามเป็นแบบมาตรประมาณค่า การค�ำนวณใช้สูตรดังนี้
a = k 1 — SSS2t2i
k—1
a แทน ความเที่ยงของเครอื่ งมือวัด
K แทน จ�ำนวนของข้อคำ� ถามของเคร่ืองมือวัด
SS22it
แทน ค่าความแปรปรวนของคะแนนแตล่ ะขอ้
แทน ความแปรปรวนของคะแนนรวมทง้ั ฉบบั ของเครื่องมือวดั
2.2.4 การตรวจสอบความเที่ยงระหว่างผู้ประเมิน การหาความเที่ยงของเครื่องมือวัดทักษะ
กระบวนการและการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์ วิธีนี้อาศัยแนวคิดท่ีว่าถ้าเคร่ืองมือวัดทักษะกระบวนการและ
การสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์มีคุณภาพดี สร้างอย่างถูกหลักวิชา มีเกณฑ์การให้คะแนนที่ชัดเจน มีคู่มือ
การใช้เคร่ืองมือที่ช่วยให้ผู้ประเมินสามารถด�ำเนินการประเมินได้อย่างถูกต้อง ก็จะส่งผลให้การประเมิน
ระหว่างผู้ประเมินมีความสอดคล้องกัน เช่น ในกรณีเครื่องมือวัดทักษะกระบวนการและการสืบเสาะ
ทางวิทยาศาสตร์ เป็นแบบสังเกตการปฏิบัติงานวิทยาศาสตร์ของนักเรียน การตรวจสอบความเท่ียงของ
แบบสงั เกตดว้ ยการใหใ้ ชผ้ ปู้ ระเมนิ 2 คน เปน็ ผสู้ งั เกตทำ� การสงั เกตทกั ษะปฏบิ ตั กิ ารวทิ ยาศาสตรข์ องนกั เรยี น