Page 32 - ภาษาและวัฒนธรรมจีน
P. 32
8-22 ภาษาและวฒั นธรรมจนี
เรื่องที่ 8.1.3
คาอธิบายประกอบเกย่ี วกบั “อกั ษรจีน”
1. ควำมรูเ้ กย่ี วกบั อกั ษรจนี
อกั ษรจนี ทน่ี ามาใชส้ อ่ื สารบอ่ ยในปจั จบุ นั มปี ระมาณ 3,500 ตวั จาแนกเป็นใชบ้ อ่ ยมากทส่ี ุด 2,500 ตวั
และ ใชบ้ อ่ ยรองลงมาประมาณ 1,000 ตวั หากผูเ้รยี นมคี วามรูค้ วามเขา้ ใจและสามารถนามาประยุกตใ์ ชใ้ นการ
สอ่ื สารไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งประมาณ 3,000 ตวั อกั ษร จะถอื ไดว้ า่ มพี ้นื ความรูท้ างภาษาจนี ทด่ี ใี นระดบั หน่ึง ตาม
มาตรฐานการสอบวดั ระดบั ความรูท้ างภาษาจนี HSK
รูปแบบอกั ษรจนี
1) 甲骨文 Jiǎɡǔwén อกั ษรกระดองเต่าเป็นรูปแบบอกั ษรทเ่ี ก่าแก่ทส่ี ุด 甲 หมายถงึ
กระดอง 骨 คอื กระดูก อกั ษรกระดองเต่าใชใ้ นสมยั ราชวงศซ์ างเมอ่ื สามพนั กวา่ ปีก่อน เป็นอกั ษรทส่ี ลกั อยู่บน
กระดองเต่าและกระดูกสตั ว์ กระดูกววั เป็นอกั ษรภาพเลยี นแบบธรรมชาติ ปรากฏหลกั ฐานการคน้ พบประมาณ
4,000 ตวั ทส่ี ามารถเขา้ ใจความหมายไดป้ ระมาณ 1,000 ตวั
อกั ษรกระดองเต่า
แหลง่ ทม่ี าของภาพ www.cn3399.com/asp-jx/news_view.asp?newsid=2098
2) 金文 Jīnwén อกั ษรบนเคร่อื งสารดิ 金 หมายถงึ ทองและโลหะ อกั ษรบนเครอ่ื งสารดิ ใช้
ในสมยั ราชวงศซ์ างและสมยั ราชวงศโ์ จว จนิ เหวนิ เป็นอกั ษรทส่ี ลกั หรอื หลอมอยูบ่ นเครอ่ื งทองสารดิ 青铜器
qīnɡtónɡqì รูปลกั ษณต์ วั อกั ษรมที งั้ คงรูปแบบเจยี๋ ก่เู หวนิ ซง่ึ เป็นอกั ษรภาพ และเรม่ิ มวี วิ ตั นาการใกลเ้คียง
รูปแบบอกั ษร 小篆 Xiǎozhuàn อกั ษรเส่ยี วจว้ นในเวลาต่อมา ปรากฏหลกั ฐานอกั ษรรูปแบบจนิ เหวนิ
ประมาณ 5,000-6,000 ตวั