Page 41 - การวางแผน การออกแบบ และการผลิตสื่อชุมชน
P. 41

การผลติ และการใชส้ ือ่ เพอื่ สรา้ งความเขม้ แขง็ ของชมุ ชน 15-31
โนราก็คืออัตลักษณ์ของคนในชุมชนรอบทะเลสาบสงขลา ซ่ึงมีจิตวิญญาณของบรรพชน (ความเช่ือเรื่อง
ตายาย) หลอ่ เลยี้ งอยู่ จนถงึ กบั มกี ารกลา่ วกนั วา่ หนมุ่ ใตค้ นใดทคี่ ดิ จะไปสขู่ อลกู สาวบา้ นไหนเพอื่ แตง่ งาน
ด้วย ต้องฝกึ ร�ำโนราใหเ้ ป็นเสยี กอ่ น พอ่ ตาจงึ จะยอมยกลูกสาวให้

       แต่อย่างไรก็ดี พอมาถึงยุคท่ีรัฐบาลเร่ิมประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับท่ี 1 พ.ศ.
2504 สถานภาพของส่ือพ้ืนบ้านก็เริ่มตกต่ําลงอย่างเห็นได้ชัด เน่ืองจากนโยบายของรัฐเน้นหนักที่
ความทนั สมยั และการจำ� เริญเตบิ โตทางเศรษฐกจิ เพราะฉะน้ัน วัฒนธรรมพนื้ บา้ นของชุมชนทอ้ งถ่ินก็ถกู
สงั คมตคี วามใหมว่ า่ เชย ลา้ หลงั และไมน่ ำ� ไปสกู่ ารพฒั นาประเทศใหก้ า้ วหนา้ หมอลำ� ผฟี า้ กถ็ กู แปลงความ
หมายใหมจ่ ากสอ่ื โทรทศั นใ์ หก้ ลายเป็น “ปอบผีฟา้ ” ทงี่ มงาย น่ากลัว และชอบกนิ ตบั ไตไส้พงุ มนษุ ย์ ใน
ขณะทกี่ รณคี วามเชอื่ เรอ่ื งตายายโนรา กก็ ลายเปน็ เรอื่ งของผสี างทพี่ สิ จู นไ์ มไ่ ดใ้ นทางวทิ ยาศาสตรส์ มยั ใหม่
หรือแม้แต่การเกิดทัศนะของคนรุ่นใหม่ว่า เป็นลูกผู้ชายไม่ควรร�ำโนรา เพราจะท�ำให้กลายเป็นกะเทย
ไมส่ มชายชาตรี

       จนกระทั่งปี พ.ศ. 2546 เมื่อโครงการ สพส. ได้เริ่มทดลองพัฒนาโครงการภาคีส่ือพ้ืนบ้านเพ่ือ
การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาวะชุมชนขึน้ มา 60 โครงการ และใช้กลยุทธ์การ “ขับเคล่อื นโครงการบนฐานความรู้”
เช่น การเสรมิ สร้างความรู้และแนวคิดตา่ งๆ ให้กบั ภาคใี นโครงการ (อาทิ แนวคดิ การผลติ ซา้ํ เพ่อื สบื ทอด
วฒั นธรรม แนวคดิ การวเิ คราะหค์ ณุ ลกั ษณะของสอ่ื พนื้ บา้ น แนวคดิ บทบาทหนา้ ทขี่ องสอ่ื พน้ื บา้ น แนวคดิ
หลกั สทิ ธเิ จ้าของวัฒนธรรม ฯลฯ) ผลดังกล่าวท�ำให้ส่อื พ้ืนบ้านหลายชนดิ ทมี่ ีแนวโนม้ จะสญู หายไป กเ็ ร่มิ
ฟื้นตัวข้ึนมา และในขณะเดียวกัน สื่อพื้นบ้านที่มีแนวโน้มจะกลายพันธุ์ ก็สามารถร้ือฟื้นรากของคุณค่า
ความหมายกลบั คืนมาได้

       จากการทบทวนแนวทางการท�ำงานของโครงการ สพส. ดังกล่าว สมสุขพบว่า ตัวแปรส�ำคัญท่ี
ทำ� ใหศ้ กั ดศิ์ รขี องสอื่ พน้ื บา้ นมแี นวโนม้ จะถกู ลดทอนคณุ คา่ ลงไปในชว่ งหลายทศวรรษทผี่ า่ นมา พอสรปุ ได้
เป็น 5 ปัจจยั หลักๆ ด้วยกนั ดังน้ี

       1. 	การสร้างความหมายให้เป็นเร่ือง “โบร่ําโบราณ” แม้ครั้งหนึ่งในอดีต สื่อพื้นบ้านถือเป็น
ช่องทางในการเสริมสร้างอ�ำนาจ/อัตลักษณ์/ศักดิ์ศรีให้กับชุมชนท้องถิ่น แต่ผลจากการพัฒนาประเทศใน
รอบหลายทศวรรษทผี่ ่านมา ทเ่ี น้นมิติความทันสมัยและความเจรญิ กา้ วหนา้ ทางเศรษฐกจิ มากกว่าคุณค่า
ของมรดกทางวัฒนธรรม ท�ำให้ส่ือพ้ืนบ้านหลายชนิดได้รับการตีความหมายใหม่ (redefined) ว่า
เป็นผลติ ผลท่ี “โบร่ําโบราณ” หรือ “พน้ ยุคพ้นสมยั ” และมแี นวโนม้ (หรือแม้แต่ได)้ สญู หายไปแล้วจาก
ชุมชนชนบท เชน่ ความเชอื่ เรื่องผีที่เคยเป็นองคค์ วามรดู้ ัง้ เดมิ ของท้องถิ่นทใี่ ชค้ วบคมุ ทางสังคม และเป็น
ส่วนหนึ่งของการสืบทอดค่านิยมอันดีงามในสังคมชนบท ก็ถูกองค์ความรู้แบบวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ท่ี
รุกคืบเข้ามาในชุมชนหมู่บ้าน แปลงสารตีความใหม่ว่า “งมงาย” “ไม่น่าเชื่อถือ” “พิสูจน์ไม่ได้ในเชิง
ประจกั ษ/์ รปู ธรรม” และทส่ี ำ� คญั ความเชอ่ื เรอ่ื งผมี แี นวโนม้ จะถกู เบยี ดขบั /กดี กนั (excluded) ออกไปจาก
ส�ำนึกของคนชุมชน ดังตัวอย่างกรณีความเช่ือเรื่องผีที่อยู่ในส่ือพิธีกรรมจ�ำนวนมาก เช่น พิธีกรรมเลี้ยง
ผีปู่ย่าของภาคเหนือ พิธีกรรมแซงซะนามของชาวไทโส้ทางภาคอีสาน หรือพิธีกรรมโต๊ะครึมของภาคใต้
ฯลฯ ที่ถกู ลดทอนความศักด์ิสทิ ธแิ์ ละศักดิศ์ รลี งไปทา่ มกลางกระบวนการเปล่ียนผ่านสคู่ วามทนั สมัย
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46