Page 42 - การวางแผน การออกแบบ และการผลิตสื่อชุมชน
P. 42

15-32 การวางแผน การออกแบบและการผลิตสือ่ ชมุ ชน
       2. 	การเปลี่ยน “แก่น” หรือ “ราก” โดยธรรมชาตขิ องส่ือพ้นื บา้ นแลว้ จะมอี งค์ประกอบท่ีส�ำคัญ

อยสู่ องส่วนคอื “สว่ นที่มองเหน็ ” (visible) หรอื สว่ นท่เี ป็นรปู แบบ (form) ของการส่ือสาร และ “สว่ นท่ี
มองไม่เห็น” (invisible) หรือส่วนท่ีเป็นคุณค่าความหมาย/เนื้อหา (meaning/content) ท่ีซุกซ่อนอยู่
อปุ มาอปุ ไมยกบั ตน้ ไมท้ สี่ ว่ นทเี่ ปน็ รปู แบบกค็ อื สว่ นของลำ� ตน้ /ดอก/ใบ/ผลทโี่ ผลพ่ น้ ผวิ ดนิ และมองเหน็ ได้
ชดั เจน ในขณะทส่ี ว่ นทเ่ี ปน็ คณุ คา่ ความหมาย/เนอ้ื หากค็ อื ราก ซงึ่ แมจ้ ะฝงั ลกึ ลงดนิ และมองไมเ่ หน็ แตท่ วา่
ก็เป็นส่วนท่ีส�ำคัญยิ่ง (กาญจนา แก้วเทพ, 2548) ตัวอย่างเช่น กรณีของพิธีกรรมหล่อเทียนเข้าพรรษา
ที่ออกแบบขึ้นด้วยองค์ประกอบสองส่วน กล่าวคือ ในขณะท่ีความรู้เทคนิคการหล่อเทียน ช่องทางวาระ
โอกาสของการหล่อเทยี น คนท่เี กีย่ วข้อง หรอื การจดั ขบวนแห่เทยี น เหล่าน้ถี ือเป็นส่วนของ “ลำ� ต้นดอก
ใบผล” ของพธิ กี รรมดังกลา่ ว แตส่ ว่ นทีเ่ ปน็ “ราก” หรือ “แกน่ ” จริงๆ ของพธิ กี รรมน้กี ็คือ การใช้การ
หลอ่ เทียนเป็นกศุ โลบายเพ่ือให้ชุมชนได้ลงแรงลงใจและหลอมรวมความรูส้ กึ ที่เปน็ หน่ึงเดยี วกัน เนอื่ งจาก
ชาวบ้านในอดีตมักจะใช้น้ําตาเทียนที่เก็บจากแท่นบูชาพระของแต่ละครัวเรือน แล้วน�ำมาหลอมหล่อเป็น
เทียนพุทธบชู า เทียนพรรษาจงึ เป็น “สัญญะ” หรือ “สอ่ื ” ท่ีเกดิ จากการหลอมใจรวมกันของคนในชมุ ชน
ดงั นน้ั หากปจั จบุ นั ชาวบา้ นเลอื กใชว้ ธิ ซี อื้ เทยี นเขา้ พรรษา หรอื นำ� หลอดไฟฟลอู อเรซเซน้ ตม์ าถวายวดั แทน
แลว้ ก็แปลวา่ “ราก” หรือ “แกน่ ” ในศักดศิ์ รขี องวฒั นธรรมชมุ ชนดงั กล่าวกม็ ีอันสลายหายไป

       3. 	การตัดสายสัมพันธ์ของ “เครือข่าย” ธรรมชาติการดำ� รงอย่ขู องสอื่ พืน้ บา้ น ดจู ะไม่แตกตา่ ง
จากธรรมชาตขิ องพน้ื ปา่ ทจ่ี ะประกอบไปดว้ ยไมใ้ หญ่ ไมเ้ ลก็ วชั พชื สตั วป์ า่ แหลง่ นาํ้ แหลง่ ดนิ และระบบ
นิเวศต่างๆ ท่ีอยู่กันแบบมีสายสัมพันธ์เชื่อมโยง ทั้งน้ี ถ้าเราน�ำมาเปรียบเทียบกับกรณีของสื่อพ้ืนบ้าน
กจ็ ะอธบิ ายไดว้ า่ ศกั ดศิ์ รขี องสอื่ พนื้ บา้ นจะธำ� รงอยไู่ ด้ กต็ อ่ เมอ่ื มกี ารเชอ่ื มโยงคน/ศลิ ปนิ /ปราชญท์ อ้ งถนิ่ /
หมบู่ า้ น/วัด/โรงเรียน/ทุกๆ หนว่ ยสังคม ให้สานตอ่ กนั เปน็ “เครอื ข่าย” (network) ซึง่ อาจมีท้งั เครือขา่ ย
ศิลปิน/ส่ือพื้นบ้านประเภทเดียวกันเอง (เช่น เครือข่ายหมอล�ำ  เครือข่ายโนรา) หรือเครือข่ายแบบข้าม
ประเภทของส่ือพ้ืนบ้าน ที่จะอยู่เก้ือกูลกันอย่างแนบแน่น เช่น กรณีเครือข่ายของคลองอู่ตะเภา จังหวัด
สงขลา ซง่ึ สานโยงความสมั พนั ธก์ นั ระหวา่ งสอ่ื พนื้ บา้ นหลากหลายชนดิ อาทิ เพลงเรอื แหลมโพธิ์ ประเพณี
ซัดต้ม การตีกลองเพล ความเช่ือเร่ืองทวดงู ฯลฯ การสานต่อกันเป็นเครือข่ายแบบน้ีมีประโยชน์หลาย
ประการ ตง้ั แต่การเปิดโอกาสมากข้ึนในการระดมทรัพยากรและความชว่ ยเหลอื ทางสงั คมเศรษฐกจิ สร้าง
ความเข้มแข็งและเพ่ิมอ�ำนาจต่อรองให้กับศิลปิน เป็นกลไกสมานความขัดแย้งระหว่างชาวไทยพุทธและ
ไทยมุสลมิ ทอี่ ยูร่ ว่ มกนั สองฝง่ั คลอง เปน็ ตน้ แตอ่ ย่างไรกด็ ี เมือ่ ถนนเร่มิ ตัดผ่านเข้ามาในชมุ ชน เครือข่าย
คลองเร่ิมลดความส�ำคัญลง และถูกทดแทนด้วยบ้านจัดสรรสมัยใหม่ ท�ำให้ส่ือพ้ืนบ้านหลายชนิดเริ่ม
สญู เสยี อัตลกั ษณ์ศักดิศ์ รี และคอ่ ยๆ ลม้ หายตายจากไป พรอ้ มๆ กับการสิ้นสดุ บทบาทหนา้ ท่ีหลากหลาย
ดังที่กล่าวมา เชน่ เมอื่ เครือขา่ ยคลองหายไป เพลงเรือและประเพณซี ัดต้มท่เี ชือ่ มโยงคนพุทธกบั มสุ ลมิ ใน
หลายๆ ชว่ งวยั กห็ ายไป การใชก้ ลองเพลเพอ่ื บอกสญั ญาณงานบญุ หรอื เตอื นภยั ฤดนู า้ํ หลากกห็ มดคณุ คา่ ลง
เปน็ ต้น

       4. 	การเปลี่ยนแปลงของ “โลกความเป็นจริง” เน่อื งจากส่อื พืน้ บ้านไมไ่ ด้มจี ดุ กำ� เนดิ ทผ่ี ุดขึ้นมา
ลอยๆ ในสุญญากาศ หากแตก่ ารเกดิ ขึน้ และดำ� รงอยขู่ องสือ่ พน้ื บา้ น มักต้องมี “โลกความเปน็ จริง” หรือ
“โลกทางกายภาพ” (physical world) รองรับ หรืออีกนัยหนึ่ง ส่ือพ้ืนบ้านอันเป็น “โลกสัญญะ/โลก
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47