Page 28 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 28
1-18 การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
4.1 การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ (historical research) เป็นการวิจัยเพ่ือค้นหาข้อเท็จจริงของ
เหตุการณ์ ความเป็นมาของเร่ืองราว หรือทฤษฎีต่าง ๆ ท่ีผ่านมาแล้วในอดีต โดยมีจุดมุ่งหมายท่ีจะบันทึก
อดีตอย่างมีระบบ และมีความเป็นปรนัยจากการรวบรวมประเมินผล ตรวจสอบ และวิเคราะห์เหตุการณ์เพ่ือ
ค้นหาข้อเท็จจริงในอันที่จะน�ำมาสรุปอย่างมีเหตุผล การวิจัยประเภทน้ีต้องอ้างอิงเอกสารและวัตถุโบราณท่ี
มีเหลืออยู่ ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วมักไม่ใช้สถิติ สรุปได้ว่าการวิจัยประเภทนี้มุ่งที่จะบอกว่า “เป็นอะไรในอดีต”
ซ่ึงนักวิจัยจะต้องมีความสามารถในการวิเคราะห์และตรวจสอบข้อมูลเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ตรงและเชื่อถือได้
โดยการพิจารณาประเมินว่าข้อมูลหรือหลักฐานท่ีรวบรวมได้น้ันเป็นของจริงของแท้ด้ังเดิมหรือไม่ ซึ่ง
เรียกว่าเป็นการวิพากษ์ภายนอก (external criticism) และพิจารณาประเมินว่าเน้ือหาสาระในเอกสาร
หรือหลักฐานมีความถูกต้องน่าเช่ือถือหรือไม่ ตัวอย่างการวิจัยเร่ือง “ระบบการศึกษาของไทยในสมัย
สมเด็จพระปิยมหาราช”
4.2 การวิจยั เชงิ บรรยาย หรอื เชงิ พรรณนา (descriptive research) เป็นการวิจัยที่มุ่งศึกษาค้นคว้า
ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน เพ่ือบรรยายและท�ำความเข้าใจสภาพ ลักษณะ และ
ความสมั พนั ธข์ องปรากฏการณต์ า่ ง ๆ การวจิ ยั ประเภทนคี้ รอบคลมุ การวจิ ยั ประเภทยอ่ ย ๆ อกี หลายประเภท
เช่น การวิจัยเชิงส�ำรวจ (survey research) การวิจัยสืบย้อนถึงความเป็นสาเหตุ (ex post facto research)
การวิจัยเชิงเปรียบเทียบสาเหตุ (causal comparative research) การศึกษาเฉพาะกรณี (case study)
การวิจัยเชิงสหสัมพันธ์ (correlation research)
4.3 การวจิ ยั เชงิ ทดลอง (experimental research) เป็นการวิจัยที่มุ่งศึกษาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ
และผลระหว่างตัวแปรอิสระ (independent variable) หรือตัวแปรจัดกระท�ำ (treatment variable) ที่มี
ผลตอ่ ตวั แปรตาม (dependent variable) ภายใตก้ ารจดั สภาพการทดลองและการควบคมุ ตวั แปรแทรกซอ้ น
(extraneous variable) เช่น ศึกษาค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสองกลุ่มท่ีเรียนด้วยวิธีการ
สอนสองแบบวา่ แตกตา่ งกนั หรอื ไม่ อยา่ งไร ศกึ ษาเจตคตติ อ่ ทอ้ งถนิ่ ของนกั เรยี นในเมอื งกบั นกั เรยี นในชนบท
ว่าแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร หลังจากอ่านหนังสืออ่านประกอบเรื่องท้องถ่ินของเรา
5. การจำ� แนกประเภทของการวจิ ัยตามกรอบเวลาของการเกิดเหตุการณ์
ประเภทของการวิจัยท่ีจ�ำแนกตามกรอบเวลาของการเกิดเหตุการณ์ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท
ใหญ่ ๆ คือ การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ การวิจัยเชิงปัจจุบัน และการวิจัยเชิงอนาคต ดังน้ี
5.1 การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ (historical research) เป็นการวิจัยท่ีศึกษาเก่ียวกับปรากฏการณ์
ทางสังคม หรือเหตุการณ์ในอดีต เพ่ือค้นหาข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ ความเป็นมาของเร่ืองราวต่าง ๆ ใน
อดีต โดยมีจุดมุ่งหมายเพ่ือหาข้อสรุปและท�ำความเข้าใจปรากฏการณ์ในอดีต อันจะน�ำไปสู่การก�ำหนด
ขอบเขตที่จะท�ำนายหรือคาดการณ์ในอนาคต
5.2 การวจิ ยั เชงิ ปจั จบุ นั (contemporaneous research) เปน็ การวจิ ยั เพอื่ คน้ หาความจรงิ หรอื สาเหตุ
ของปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน หรือเรียกว่าเป็นการวิจัยเชิงบรรยายน่ันเอง