Page 145 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 145
การค้นคว้าและการน�ำเสนอวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 2-135
สรุปจากงานวิจัยทุกเรื่อง และมีรายการอ้างอิงในบรรณานุกรมเป็นร้อยเรื่อง ควรพิจารณาเลือกงานวิจัยท่ี
ส�ำคัญ ซึ่งเสดงวิวัฒนาการอย่างชัดเจนมาสรุปเสนอสาระ ส่วนงานวิจัยท่ีมีความส�ำคัญน้อยแต่อยากให้ผู้อ่าน
ได้รับรู้ ควรท�ำเป็นสาระสรุปไว้ในภาคผนวก
1.1.4 รูปแบบน�ำเสนอสาระท่ีเป็นข้อยุติของผลการวิจัยที่ขัดแย้งกัน รูปแบบนี้ต้องน�ำเสนอ
สาระที่เป็นประเด็นขัดแย้งระหว่างงานวิจัยในอดีตก่อน โดยแยกน�ำเสนอสาระสรุปที่ได้จากงานวิจัยที่เสนอ
ประเด็นทางบวก และน�ำเสนอสาระสรุปที่ได้จากงานวิจัยท่ีน�ำเสนอประเด็นทางลบ อธิบายให้เห็นประเด็น
ความขัดแย้งอย่างชัดเจน พร้อมทั้งระบุสาเหตุอันเป็นท่ีมาของความขัดแย้ง และแนวทางการวิจัยที่จะท�ำใหม่
เพื่อให้ได้ผลการวิจัยที่เป็นข้อยุติส�ำหรับประเด็นความขัดแย้ง
1.2 รปู แบบการนำ� เสนอรายงานการทบทวนวรรณกรรมจำ� แนกตามลกั ษณะเนอ้ื หาสารสนเทศ จาก
วรรณกรรมของ Cooper (1984), Hunter & Schmidt (1990) Hunter, Schmidt & Jackson (1982)
และ Neuman (1991) มีสาระว่าด้วยการจ�ำแนกการน�ำเสนอวรรณกรรมท่ีเก่ียวข้องตามลักษณะเน้ือหา
สารสนเทศ สรุปแยกได้เป็น 5 รูปแบบ ดังน้ี
1.2.1 รูปแบบรายงานบริบท (context review) การน�ำเสนอวรรณกรรมแบบน้ีให้สารสนเทศ
ดา้ นบรบิ ทของงานวจิ ยั วา่ งานวจิ ยั เปน็ การศกึ ษาหาความรคู้ วามจรงิ จากประชากร/ผใู้ หข้ อ้ มลู กลมุ่ ใด พนื้ ทใ่ี ด
ปัญหาวิจัยที่จะท�ำในบริบทดังกล่าวมีความส�ำคัญอย่างไร และจะสร้างความรู้ใหม่เพ่ิมเติมองค์ความรู้ท่ีเป็น
ภาพรวมในประเด็นใด
1.2.2 รปู แบบรายงานประวตั ิ (historical review) การนำ� เสนอวรรณกรรมแบบนีใ้ หส้ ารสนเทศ
ด้านภูมิหลัง ประวัติ ความเป็นมา และสภาพปัญหาวิจัย แสดงให้เห็นความเช่ือมโยงระหว่างงานวิจัยในอดีต
กับงานวิจัยท่ีจะท�ำ
1.2.3 รปู แบบรายงานทฤษฎี (theoretical review) การนำ� เสนอวรรณกรรมแบบนใ้ี หส้ ารสนเทศ
ด้านผลการเปรียบเทียบ หรือบูรณาการทฤษฎีท่ีเก่ียวข้องกับการวิจัย เพ่ือแสดงให้เห็นความเป็นไปได้ในการ
ปรบั เปลี่ยน ลม้ ล้าง หรอื ยืนยนั ทฤษฎี ดังเชน่ ตวั อย่างงานวิจยั ของ Koopman & Hakemulder (2015) เรอ่ื ง
Effects of literature on empathy and self-reflection: A theoretical-empirical framework
1.2.4 รปู แบบรายงานวธิ วี ทิ ยา (methodological review) การน�ำเสนอวรรณกรรมแบบนี้ให้ผล
การเปรียบเทียบระเบียบวิธีวิจัยที่ได้จากงานวิจัยที่เก่ียวข้องที่หลากหลาย เพ่ือน�ำเสนอวิธีด�ำเนินการวิจัยท่ีมี
ความเหมาะสมมากกว่าเดิม เช่น งานวิจัยของ SmithBattle, Lorenz, Reangsing, Palmer, & Pitroff
(2018) เร่ือง A methodological review of qualitative longitudinal research in nursing
1.2.5 รูปแบบรายงานผลการวิจัย (research result review) การน�ำเสนอวรรณกรรมแบบนี้
เป็นการน�ำเสนอผลการสังเคราะห์ข้อค้นพบงานวิจัย แสดงให้เห็นว่าข้อค้นพบใหม่มีส่วนสร้างเสริม
องค์ความรู้เดิมอย่างไร
1.3 รูปแบบรายงานการทบทวนวรรณกรรมจ�ำแนกตามวิธีการทบทวนวรรณกรรม (literature
review) การน�ำเสนอวรรณกรรมแบบนี้ได้จากแนวคิดของ Cooper (1984), Hunter, Schmidt & Jackson
(1982) และ Neuman (1991) ซ่ึงอธิบายว่าวิธีการทบทวนวรรณกรรมท�ำได้หลายแบบ ท�ำให้ได้รูปแบบที่
ส�ำคัญในการน�ำเสนอวรรณกรรมที่เก่ียวข้องจ�ำแนกตามวิธีการทบทวนวรรณกรรมได้ 2 แบบ ดังนี้