Page 20 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 20
2-10 การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
ตามหลักวิจัย นักวิจัยที่ส�ำคัญ ได้แก่ Cooper & Hedges (1994); Cooper, Hedges & Valen-
tine (2009) และ White (2009) จัดประเภทวรรณกรรม แบ่งเป็น 3 ประเภท ตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด 3 เกณฑ์
คือ เกณฑ์การสื่อสารทางวิทยาศาสตร์ เกณฑ์การพิมพ์เผยแพร่ และเกณฑ์ลักษณะข้อมูล โดยวรรณกรรม
แต่ละประเภท ยังแยกความแตกต่างระหว่างวรรณกรรมออกเป็นหลายแบบ ในที่นี้ผู้เขียนน�ำเสนอผลการจัด
ประเภทวรรณกรรมรวม 3 ประเภท ดังสาระสังเขปต่อไปน้ี
1.1.1 การจัดประเภทแบบแรก-การจัดประเภทตามลักษณะการสื่อสารทางวิทยาศาสตร์ (sci-
entific communication) การจัดประเภทวรรณกรรมตามลักษณะการส่ือสาร ซ่ึงประกอบด้วย ‘สาร (mes-
sage)’ จาก ‘ผู้ส่งสาร (sender)’ และ ‘สาร’ จากการตอบสนองต่อสารท่ีได้รับของ ‘ผู้รับสาร (receiver)’
ซ่ึงก่อให้เกิดการสื่อสาร แลกเปล่ียนความคิดเห็น และได้รับข้อมูลป้อนกลับเก่ียวกับงานทางวิชาชีพ ระหว่าง
ผู้ส่งสารและผู้รับสาร โดยข้อมูลท่ีได้รับมีปริมาณและสาระเพ่ิมขึ้นตามจ�ำนวนครั้งที่มีการติดต่อสื่อสาร
การจัดประเภทตามลักษณะการสื่อสารแบ่งออกเป็น 4 แบบ ดังน้ี
แบบแรก วรรณกรรมทีใ่ ช้การส่ือสารปากเปล่าแบบไม่เป็นทางการ (informal oral lit-
erature) เป็นวรรณกรรมที่พบได้ในชีวิตประจ�ำวันของมนุษย์ เช่น บันทึกการสนทนาทางโทรศัพท์ และบันทึก
การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง เป็นต้น
แบบทส่ี อง วรรณกรรมทใ่ี ชก้ ารสอื่ สารเปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษรแบบไมเ่ ปน็ ทางการ (infor-
mal written literature) เป็นวรรณกรรมที่ใช้กันมากท่ีสุดในชีวิตประจ�ำวัน เช่น วรรณกรรมประเภทจดหมาย
อีเมล์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ข้อความท่ีส่งผ่านทางไลน์ โทรเลข และโทรสาร ท้ังท่ีเป็นทางการ และ
ไม่เป็นทางการ จัดว่าเป็นวรรณกรรมที่ใช้กันมากในการติดต่อส่ือสารระหว่างสมาชิกในครอบครัว องค์การ
สถาบัน เป็นต้น
แบบท่ีสาม วรรณกรรมท่ีมีการส่ือสารแบบปากเปล่าอย่างเป็นทางการ (formal oral
literature) เป็นวรรณกรรมที่ได้จากกิจกรรมทางวิชาการอย่างเป็นทางการ เช่น วรรณกรรมท่ีได้จากบันทึก
การสัมภาษณ์ในโครงการวิจัยแบบเป็นทางการ ประกาศ/แถลงการณ์ของรัฐบาลผ่านวิทยุ โทรทัศน์ และ
เอกสารการบรรยายโดยศาสตราจารย์/ผู้ทรงคุณวุฒิในสถาบันอุดมศึกษา เป็นต้น
แบบทส่ี ี่ วรรณกรรมทม่ี กี ารสอ่ื สารเปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษรอยา่ งเปน็ ทางการ (formal writ-
ten literature) เป็นวรรณกรรมทม่ี คี ุณค่าต่อการวจิ ยั มากที่สุด เพราะเป็นวรรณกรรมทผ่ี า่ นการวพิ ากษว์ จิ ารณ์
โดยนักวิชาการและ/หรือนักวิจัยมืออาชีพมาแล้ว ก่อนการพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการ และวารสาร
วิชาการนั้นเป็นวารสารท้ังระดับชาติและนานาชาติท่ีมีการประเมินคุณภาพโดยเพ่ือนนักวิชาการ (peer-
reviewed) อนั กอ่ ใหเ้ กดิ ความคดิ ใหม่ และผลผลติ ใหมท่ มี่ คี ณุ คา่ ตอ่ มวลมนษุ ย์ วรรณกรรมประเภทน้ี ไดแ้ ก่
บทความวิชาการ/บทความวิจัย รายงานวิจัย หนังสือ/ต�ำรา ซึ่งพิมพ์เผยแพร่ในวารสาร/พิมพ์เฉพาะกิจเผย
แพร่เป็นทางการ และวรรณกรรมแบบไม่เผยแพร่ หรือวรรณกรรมได้รับการตอบรับให้เผยแพร่น้อยมาก
เพราะมีมาตรฐานสูงในการคัดเลือกวรรณกรรมเพื่อพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการที่มีคุณภาพ หรือมีการ
เผยแพรใ่ นวารสารเฉพาะสถาบนั เชน่ วรรณกรรมประเภทโมโนกราฟ (monograph) วทิ ยานพิ นธ์ ภาคนพิ นธ์
เป็นต้น