Page 73 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 73

การค้นคว้าและการน�ำเสนอวรรณกรรมท่ีเก่ียวข้อง 2-63

ด้วยเหตุดังกล่าว รหัส DOI จึงมีคุณประโยชน์ต่อนักวิจัยในการใช้งานทางวิชาการรวม 3 ประการ คือ 1) นัก
วิจัยใช้รหัส DOI อันเป็นรหัสที่บอกลักษณะส�ำคัญเฉพาะวรรณกรรมแต่ละรายการ ในการค้นคืนวรรณกรรม
ฉบบั ดงั กลา่ วมาศกึ ษาหาความรไู้ ดร้ วดเรว็ เพราะการใชร้ หสั DOI ชว่ ยใหก้ ารคน้ คนื วรรณกรรมสะดวกรวดเรว็
มากกว่าการพิมพ์ข้อมูลวรรณกรรมตามหลักบรรณานุกรม 2) ระบบ DOI ช่วยให้นักวิจัยสามารถค้นคืน
วรรณกรรมหรอื เอกสารดิจทิ ลั ทกุ ประเภททมี่ ีการปรับปรุงให้เปน็ ปัจจบุ ัน (update) แลว้ ไดอ้ ย่างรวดเรว็ และ
3) ระบบ DOI ช่วยจัดการด�ำเนินงานตามหลักการค้นคืนทรัพย์สินทางปัญญา (intellectual property) รวม
ทั้งการติดต่อสื่อสารทางวิชาการระหว่างนักวิจัยและหน่วยผลิตเอกสารให้มีความคล่องตัวมากขึ้น และช่วย
ใหก้ ารตดิ ตอ่ สอื่ สารทางธรุ กจิ อเิ ลก็ ทรอนกิ สร์ ะหวา่ งลกู คา้ กบั บรษิ ทั จดั ทำ� และจดั จำ� หนา่ ยเอกสารดจิ ทิ ลั ดำ� เนนิ
ไปโดยเรียบร้อยและสะดวกรวดเร็วมากข้ึน

            ส�ำหรับประเทศไทย ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ หรือสภาวิจัยแห่งชาติ (วช.) ได้
สมัครเข้าร่วมเป็นสมาชิกของระบบ DOI เม่ือ พ.ศ. 2555 และได้ร่วมมือกับ Data Cite ซ่ึงท�ำหน้าท่ีนาย
ทะเบียนในการพัฒนาระบบ DOI ของไทย เรียกว่า NRCT’s Local Handle System (BE 2556) โดยใน
ระยะแรกเน้นการให้รหัสดิจิทัลเฉพาะเอกสารประเภทงานวิจัย/วิทยานิพนธ์/บทความวิชาการ ท่ีมีการพิมพ์
เผยแพร่แล้ว ระบบเสร็จสมบูรณ์และเร่ิมใช้งานได้ในปี พ.ศ. 2557 ปัจจุบันระบบ DOI ของไทยให้รหัสดิจิทัล
และจัดท�ำระบบทะเบียนของเอกสารดิจิทัลทุกประเภทแล้ว นักวิจัยติดต่อขอรหัส DOI หรือขอทราบ
รายละเอียดได้ที่ http://doi.nect.go.th เมื่อได้รับรหัส DOI แล้ว สามารถน�ำไปใช้งานได้

            3.2.2 รหัสมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ (International Standard Book Number - ISBN)
จากวรรณกรรมที่เก่ียวข้อง (หอสมุดแห่งชาติ, ม.ป.ป.; Bradley, 1992; Enago Academy, 2018; Ency-
clopaedia Britannica, 2018; Griffiths, 2015; International ISBN Agency, 2017) ผู้เขียนสรุปได้ว่า
ประวัติความเป็นมาของ ISBN เริ่มต้นเม่ือ ค.ศ. 1966 ในการประชุมสัมมนานานาชาติด้านวิจัยและการยึด
เหตุผลเป็นหลักในตลาดหนังสือวิจัย คร้ังที่ 3 (The Third International Conference on Book Market

Research and Rationalism in the Book Trade) ช่วงเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1966 ณ กรุงเบอร์ลิน
ส�ำนักพิมพ์และบริษัทจัดจ�ำหน่ายหนังสือได้ร่วมสัมมนาความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์ส�ำหรับ
การด�ำเนินการตามค�ำสั่งในการจัดพิมพ์ และการควบคุมการส�ำรวจความต้องการของตลาดหนังสือวิจัย
อันเป็นการริเร่ิมใช้ระบบอัตโนมัติในกระบวนการด�ำเนินงานผลิต จัดจ�ำหน่าย และติดตามหนังสือวิจัย ผล
ของการประชุมสัมมนาท�ำให้มีการสร้างระบบ International Standard Book Number (ISBN) ขึ้นโดย
J. Whitaker & Sons, Ltd. ในอังกฤษ เม่ือ ค.ศ. 1967 และโดย R. R. Bowker ในสหรัฐอเมริกา เม่ือ ค.ศ.
1968 ในช่วงเวลาเดียวกัน คณะกรรมการ International Organization for Standardization (ISO) ได้
พจิ ารณาความเปน็ ไปไดใ้ นการปรบั ระบบ ISBN ขององั กฤษ ใหใ้ ชไ้ ดร้ ะดบั นานาชาตทิ กุ ประเทศ ผลการดำ� เนนิ
งานระดับนานาชาติ มีผลท�ำให้ ISO รับรองมาตรฐานระบบ ISBN 2108 ในปี ค.ศ. 1970 และได้รับการตอบ
รับในการน�ำระบบ ISBN ไปใช้ปฏิบัติจากทุกประเทศที่ใช้ระบบ ISO

            ปัจจุบัน International ISBN Agency รับผิดชอบการก�ำหนดรหัส ISBN ส�ำหรับหนังสือ
ใหม่ และจัดท�ำทะเบียนรหัส ISBN ทั้งหมด ตามมาตรฐาน International Standard Organization (ISO)
2018 นอกจากนี้ International ISBN Agency ยังได้รับสิทธิจากมูลนิธิ ‘International DOI Foundation
– IDF’ ผู้รับผิดชอบการก�ำหนดและจัดท�ำทะเบียนระบบ DOI ในการอนุญาตให้ก�ำหนดรหัส รหัส ISBN ของ
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78