Page 75 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 75

การค้นคว้าและการน�ำเสนอวรรณกรรมที่เก่ียวข้อง 2-65

ดังกล่าว โดยก�ำหนดรหัสประเทศเรียกช่ือว่า ‘Bookland’ โดยท่ัวไปรหัสส่วนน้ีท่ี GS1 ก�ำหนดให้ใช้ส�ำหรับ
วรรณกรรมคือ รหัส 978 และ 979 เท่าน้ัน แต่ในอนาคตอาจมีการเพ่ิมรหัสส่วนนี้ได้ โดยในปัจจุบัน รหัส
978 แทนประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษ และเป็นรหัสท่ีใช้มากที่สุดดังตัวอย่าง ในระบบ ISBN 10 หลัก ใช้รหัส
ระบุกลุ่ม = 3 แทนประเทศท่ีใช้ภาษาเยอรมัน และใช้รหัส = 982 แทนประเทศแปซิฟิกตอนใต้ แต่ในระบบ
ISBN 13 หลัก ก�ำหนดให้มีรหัสส่วน GS1 ของตัวอย่างท้ัง 2 ตัวอย่าง = 978 ผู้อ่านจะเห็นได้ว่า “รหัสส่วน
ที่สอง ส่วนการจดทะเบียนกลุ่ม มิได้มีรหัสเพียงหลักเดียวตามรหัสระบุกลุ่มในระบบ ISBN 10 หลัก แต่อาจ
มีรหัสแตกต่างกันตั้งแต่ 1-5 หลัก ตามเกณฑ์ใหม่ที่ International ISBN Agency ได้ก�ำหนดเกณฑ์ไว”้
รหสั ส่วนทีส่ าม สว่ นการจดทะเบยี น (registration element) เป็นรหัส 1-5 หลัก แทนชื่อส�ำนักพิมพ์ ซึ่งจัดท�ำ
และ/หรือจัดพิมพ์วรรณกรรมท่ีอยู่ในประเทศ ภาคภูมิศาสตร์ หรือภาษา ตามที่จดทะเบียนในรหัสส่วนท่ีสอง
สว่ นการจดทะเบยี นกลมุ่ ทกี่ ลา่ วแลว้ ขา้ งตน้ ประเดน็ สำ� คญั ของรหสั สว่ นทสี่ าม ‘สว่ นการจดทะเบยี น’ ในระบบ
ISBN 13 หลัก คือ “ส�ำนักพิมพ์ท่ีพิมพ์วรรณกรรมเผยแพร่จ�ำนวนมากได้รับการก�ำหนดให้ใช้รหัสตัวเลข
จ�ำนวนต่ําสุดเพียง 1 หลัก ตรงกันข้ามกับส�ำนักพิมพ์ท่ีพิมพ์วรรณกรรมเผยแพร่น้อยซึ่งได้รับการก�ำหนดให้
ใช้รหัสตัวเลขมากถึง 5 หลัก” รหสั ส่วนทสี่ ่ี สว่ นชอ่ื วรรณกรรมทขี่ น้ึ ทะเบยี น (registrant element) เป็นรหัส
ตัวเลข 1-6 หลัก แทนช่ือวรรณกรรมที่ส�ำนักพิมพ์น�ำไปจดทะเบียน ประเด็นสำ� คญั ของรหัสส่วนท่ีสี่ ‘ส่วนชื่อ
วรรณกรรมที่ข้ึนทะเบียน’ ในระบบ ISBN 13 หลัก คือ “ชื่อวรรณกรรมยาวมากเท่าไร จะได้รับการก�ำหนด
ให้ใช้รหัสตัวเลขจ�ำนวนสูงสุด 6 หลัก ซ่ึงเท่ากับจ�ำนวนหลักในรหัสช่ือหนังสือในระบบ ISBN 13 หลัก แต่ชื่อ
วรรณกรรมส้ันมากที่สุด จะได้รับการก�ำหนดให้ใช้รหัสตัวเลขจ�ำนวนต่ําสุดเพียง 1 หลัก” และรหสั ส่วนทหี่ ้า
ส่วนตรวจสอบ (check digit) เป็นรหัสตัวเลข 1 หลัก หรือตัวอักษร X กรณีใช้แทนรหัสตัวเลข 10 เพ่ือให้มี
หลักเดียว รหัสส่วนนี้ตรงกันทั้งระบบ ISBN 10 หลัก และระบบ ISBN 13 หลัก

            ผู้อ่านจะเห็นได้ว่าหลังจากได้รับการปรับปรุงท�ำให้รหัส ISBN มีความชัดเจนมากกว่าเดิม
โดยการปรับปรุงรหัส ISBN มีผลท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสรุปได้ดังนี้ 1) รหสั ในภาพรวม จ�ำนวนเลขรหัส
เพ่ิมขึ้นจากระบบ 10 หลัก เป็นระบบ 13 หลัก เพื่อให้ได้ข้อมูลเพิ่มข้ึน และ 2) รหัสแยกแตล่ ะส่วน สรุปได้
ว่า ระบบรหัส ISBN 13 หลัก มีรหสั ส่วนแรก เป็นรหัสใหม่เพิ่มจากรหัส ISBN ระยะแรก ซ่ึงมี 3 หลัก รหัส
สว่ นทีส่ อง ปรับจากรหัสระบุกลุ่ม 1 หลัก เป็น 1-5 หลัก รหัสส่วนทสี่ าม เป็นรหัสปรับจากรหัสส�ำนักพิมพ์
2 หลัก เป็น 1-5 หลัก รหสั สว่ นทสี่ ่ี เป็นรหัสปรับจากรหัสช่ือวรรณกรรมจาก 6 หลัก เป็น 1-6 หลัก และรหสั
สว่ นทห่ี า้ เป็นรหสั 1 หลัก เช่นเดียวกับรหัส ISBN ระยะแรก ประเดน็ ทนี่ า่ สงั เกต คอื การปรบั ปรงุ รหสั ISBN
ระยะท่สี องน้ี มที ัง้ การปรบั ลดและปรับเพ่มิ โดยมีข้อก�ำหนดทย่ี ืดหยนุ่ ดังเสนอขา้ งต้น ซง่ึ มีผลท�ำให้รหัส ISBN
ระยะที่สอง มีจ�ำนวนรหัสมากหรือน้อยกว่า 13 หลักได้ แต่ International ISBN Agency ระบุไว้ชัดเจนว่า
ผลการปรับปรุงตามเกณฑ์การปรับลดและปรับเพ่ิมในแต่ละส่วนมีเงื่อนไขว่า ‘รหสั ISBN ต้องมีจำ� นวนเลข
รหสั 13 หลกั ’ ผลการปรับปรุงดังกล่าวมีผลท�ำให้รหัส ISBN ระยะท่ีสองมีจ�ำนวน 13 หลัก แต่รูปแบบต่าง
กันหลายแบบ เช่น ISBN: 978-0-387-88640-4; ISBN: 978-3-319-32599-6; ISBN: 978-981-10-3043-7;
ISBN: 978-616-7073-57-6 เป็นต้น ดังรหัสและความหมายของหนังสือ ‘Revisiting EFL Assessment:
Critical Perspective’ ในภาพท่ี 4
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80