Page 70 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 70
2-60 การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
วารสารไทยในฐานข้อมูล TCI ทุก 5 ปี เพื่อเพ่ิมศักยภาพการพัฒนางานวิจัยผ่านวารสารวิชาการที่มีคุณภาพ
การจัดกลุ่มแบ่งเป็น 5 กลุ่ม กลุ่มท่ี 1-3 เป็นวารสารที่ผ่านเกณฑ์การประเมินของ TCI องค์ประกอบส�ำคัญ
ประการหน่ึงในการพัฒนาคุณภาพวารสาร คือการด�ำเนินงานวารสารท่ีถูกต้องตามจริยธรรม/จรรยาบรรณ
(publication ethics) ได้แก่ การตรวจสอบบทความวิจัยว่าไม่มีการลอกเลียนผลงาน (plagiarism) มีการ
ประเมินบทความวิจัยโดยผู้ทรงคุณวุฒิท่ีไม่มีส่วนได้ส่วนเสีย วารสารไม่มีการร้องขอให้มีการอ้างอิงบทความ
ในวารสาร กรณีที่มีการเก็บค่าธรรมเนียมการด�ำเนินงานจัดพิมพ์ (processing fee) ต้องด�ำเนินการอย่าง
โปร่งใสตรวจสอบได้ และหัวหน้ากองบรรณาธิการต้องก�ำกับให้การด�ำเนินงานโปร่งใสยุติธรรม กรณีที่พบ
หลักฐานการด�ำเนินงานไม่ถูกต้องตามจรรยาบรรณ วารสารจะถูกถอดออกจากกลุ่ม 1-3 ไปอยู่กลุ่ม 4 กลุ่ม
วารสารไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินเป็นเวลา 5 ปี จนกว่าจะปรับปรุงการด�ำเนินงานให้ผ่านเกณฑ์ในรอบ 5 ปี
ถัดไป (ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย, 2562)
อน่ึงเป็นที่น่าสังเกตว่า วิธีการค�ำนวณดัชนี IF ของ TCI ใชช้ ่วงเวลาแตกต่างจากการคำ� นวณดชั นี
IF ทเี่ ปน็ สากล เพราะใชช้ ว่ งเวลา 2 ปี เปน็ เกณฑ์ ตัวอย่างเช่น ปี พ.ศ. 2559-2560 วารสารฉบับหนึ่งพิมพ์เผย
แพร่บทความทั้งหมด 18 เร่ือง และในปี พ.ศ. 2561 บทความทั้ง 18 เรื่อง ได้รับการอ้างอิงถึง 39 ครั้ง แสดง
ว่าดัชนี IF ของวารสารดังกล่าวมีค่าไม่เท่ากับ 39/18 = 2.167 แปลความหมายได้ว่าวารสารนั้นมีคุณภาพดี
(ธีระศักดิ์ หมากผิน, นงเยาว์ เปรมกมลเนตร, ปรียานุช รัชตะหิรัญ, และคณะ, 2554) ศูนย์ดัชนีการอ้างอิง
วารสารไทย (TCI: Thai-Journal Citation Index Center, 2005)
ผู้อ่านจะเห็นได้ว่า ค่าดัชนี IF ของวารสาร เป็นดัชนีท่ีก�ำหนดข้ึนใช้เป็นมาตรฐานสากลท่ัวโลก โดยท่ี
ค่าดัชนี IF ของวารสารยิ่งสูงมากเท่าไร ยิ่งแสดงว่าวารสารน้ันมีคุณภาพดีมากเท่าน้ัน ดัชนีคุณภาพวารสาร
หรือดัชนี IF น้ี จึงมีความส�ำคัญในการระบุคุณภาพวรรณกรรมที่เสนอข้างต้น และกล่าวได้ว่า วรรณกรรม
ประเภทวารสารวิชาการน้ี เป็นวรรณกรรมที่นักวิจัยส่วนใหญ่ต้องใช้ในการทบทวนวรรณกรรม รวมทั้งเป็น
เอกสารที่ค้นคืนได้ง่ายโดยการใช้เครื่องมือค้น (search engine) เช่น Google Scholar ซึ่งมีคุณค่าและเป็น
ประโยชน์มากต่อการค้นคืนบทความวิจัยจากวารสารวิชาการท่ีมีคุณภาพสูง
3.2 รหัสมาตรฐานสากลประจ�ำวรรณกรรม นอกจากความรู้เร่ือง ‘ดัชนี IF ของวารสารวิชาการ’
แล้ว ยังมีความรู้ที่ผู้อ่านควรต้องรู้เพื่อประโยชน์ในการค้นคืนวรรณกรรมประเภทเอกสารวิชาการ คือ ‘รหัส
มาตรฐานสากลประจ�ำวรรณกรรรม’ ซ่ึงแยกเป็น 4 แบบ ได้แก่ รหัสระบุต�ำแหน่งท่ีอยู่วรรณกรรมดิจิทัล หรือ
ตัวระบุวัตถุดิจิทัล (DOI) รหัสมาตรฐานสากลประจ�ำวรรณกรรมประเภทหนังสือ (ISBN) รหัสมาตรฐานสากล
ประจ�ำวารสารวิชาการ (ISSN) และรหัสมาตรฐานสากลระบุต�ำแหน่งท่ีอยู่ของวรรณกรรม (Uniform Re-
source Locator - URL) รหัสมาตรฐานสากลแต่ละแบบมีความหมายและท่ีมาตามสาระสรุปจากวรรณกรรม
ท่ีเก่ียวข้องดังต่อไปน้ี
3.2.1 ตวั ระบุ (ตำ� แหนง่ ทอี่ ยขู่ อง) วตั ถดุ จิ ทิ ลั (Digital Object Identifier - DOI) จากวรรณกรรม
ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (2562); Enago Academy, 2018; Paskin, 2010; และ The University
of Newcastle, 2019 สรุปสาระความหมายของ DOI (‘ตัวระบุวัตถุดิจิทัล’ ตามค�ำศัพท์บัญญัติของ
ราชบัณฑิตยสภา) หมายถึง รหัสมาตรฐานสากลบ่งบอกต�ำแหน่งที่อยู่บนเว็บของวรรณกรรมดิจิทัล ได้แก่
หนังสือ เอกสาร ภาพถ่าย โสตทัศน์ และวีดิทัศน์ (audio and video) ซอฟต์แวร์ หรือลมุนพันธ์ (software)
และไฟลว์ ตั ถทุ จี่ ดทะเบยี นทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา (file with intellectual property) ทกี่ ำ� หนดขนึ้ ในปี ค.ศ. 1977