Page 67 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 67

การค้นคว้าและการน�ำเสนอวรรณกรรมท่ีเกี่ยวข้อง 2-57

จะก่อให้เกิดการพัฒนาอย่างไร ประเดน็ ทสี่ าม ประโยชนเ์ ชงิ ปฏบิ ตั กิ ารของผลการวจิ ยั เพ่ืออธิบายว่าผลการ
วิจัยประเด็นใดเป็นประโยชน์ในเชิงปฏิบัติจริงแก่หน่วยงานประเภทใด ให้แนวทางการน�ำไปใช้ปฏิบัติ และ
อธิบายว่าหากน�ำไปใช้จะก่อให้เกิดการผลดีต่อหน่วยงานอย่างไร และประเด็นท่สี ่ี ข้อจำ� กดั (limitation) ใน
การวิจัย เพื่ออธิบายว่าผลการวิจัยครั้งนี้ไม่สมบูรณ์เต็มที่เนื่องจากข้อจ�ำกัดที่แก้ไขไม่ได้ในกระบวนการวิจัย
อะไร เช่น ข้อจ�ำกัดเน่ืองจากข้อมูลในการวิจัยมีคุณสมบัติไม่ครบตามข้อตกลงเบ้ืองต้นของสถิติวิเคราะห์ที่ใช้
ซ่ึงมีผลให้ผลการวิจัยไม่สมบูรณ์ พร้อมทั้งการอ้างอิงวรรณกรรมในอดีตที่แสดงให้เห็นว่าข้อจ�ำกัดดังกล่าว
หลีกเลี่ยงได้ยาก และเสนอแนะการท�ำวิจัยต่อเนื่องท่ีมีแนวทางวิจัยเหมาะสมมากโดยไม่มีข้อจ�ำกัด

       ในข้ันตอนน้ี ผู้อ่านควรสังเกตว่า นักวิจัยต้องทบทวนวรรณกรรมใหม่ส�ำหรับการอภิปรายผลการ
วิจัย เพราะวัตถุประสงค์ในการทบทวนวรรณกรรมข้ันตอน 10 น้ี แตกต่างจากการทบทวนวรรณกรรมเพื่อ
สรา้ งกรอบแนวคิด และสมมติฐานวจิ ัยในขน้ั ตอน 2 ซ่ึง Cooper & Hedges (2009) ได้อธิบายเพิ่มเติมด้วย
ว่า การด�ำเนินการวิจัยแต่ละเร่ือง นักวิจัยนิยมด�ำเนินการทบทวนวรรณกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับงานวิจัย 2 รอบ
รอบแรก เป็นการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับปัญหาวิจัย เพื่อให้ได้สาระจากทฤษฎี และรายงานวิจัยท่ี
น�ำมาใช้สร้างกรอบแนวคิดเชิงทฤษฎี กรอบแนวคิดในการวิจัย และการก�ำหนดสมมติฐานวิจัย ส่วนรอบท่ี
สอง เป็นการทบทวนวรรณกรรมที่เก่ียวข้องกับผลการวิจัยที่ได้รับเพิ่มเติม เพื่อรวบรวมสาระส�ำคัญท่ีเป็น
แนวคิดใหม่และน�ำไปใช้ในการอภิปรายผลการวิจัยโดยการทบทวนวรรณกรรมเก่ียวกับประเด็นที่ใช้ในการ
อภิปรายผลการวิจัยทั้ง 4 ประเด็น โดยเฉพาะประเด็นข้อจ�ำกัดและข้อเสนอแนะในการวิจัยต่อไป เพราะมี
ความส�ำคัญเนื่องจากเป็นความรู้ส�ำหรับนักวิจัยรุ่นใหม่ได้เรียนรู้และท�ำวิจัยปัญหาวิจัยเดิมโดยปรับปรุงตาม
ข้อเสนอแนะ เพ่ือเพ่ิมประสบการณ์เรียนรู้แนวทางวิจัยใหม่

       ข้ันตอน 11 การเสนอแนะเชิงนโยบายและเชิงปฏิบัติ ข้ันตอนน้ีนักวิจัยน�ำผลการอภิปรายผลการ
วิจัยจากข้ันตอนที่ 10 มาสรุปเสนอเป็นข้อเสนอแนะ รวม 4 ด้าน คือ 1) การเสนอ ‘ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบาย
สำ� หรบั ผบู้ รหิ าร และหนว่ ยงานนโยบาย’ โดยการนำ� ผลการอภปิ รายดา้ นประเดน็ ทเ่ี ปน็ ประโยชนใ์ นเชงิ นโยบาย
ต่อหน่วยงาน โดยระบุว่าเป็นประโยชน์อย่างไร พร้อมทั้งให้แนวทางการน�ำไปใช้ประโยชน์ และอธิบายว่าหาก
น�ำไปใช้ตามท่ีเสนอจะก่อให้เกิดการพัฒนาในหน่วยงานในด้านใด นอกจากนี้นักวิจัยควรอ้างผลการวิจัยที่
สอดคล้องกับทฤษฎี วรรณกรรม และผลงานวิจัยในอดีตท่ีเกี่ยวข้องระบุเป็นหลักฐานสนับสนุนด้วย 2) การ
เสนอ ‘ขอ้ เสนอแนะเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารสำ� หรบั หนว่ ยปฏบิ ตั ’ิ โดยการน�ำผลการอภิปรายด้านประโยชน์เชิงปฏิบัติ-
การของผลการวิจัยมาระบุเป็นข้อเสนอแนะให้หน่วยปฏิบัติน�ำผลการวิจัยไปใช้ปฏิบัติ รวมทั้งให้แนวทางการ
ปฏิบัติส�ำหรับหน่วยปฏิบัติด�ำเนินการวิจัยต่อเน่ืองด้วย เพ่ือให้ได้ผลการปฏิบัติงานท่ีมีประสิทธิผลสูงขึ้นกว่า
เดิม 3) การเสนอ ‘ขอ้ เสนอแนะในการวจิ ยั ตอ่ ไป’ โดยการน�ำผลการอภิปรายด้านความขัดแย้งระหว่างผลการ
วิจัยกับทฤษฎีวรรณกรรม และผลงานวิจัยในอดีตท่ีเก่ียวข้อง และด้านข้อจ�ำกัดในการวิจัย มาระบุเป็นข้อ
เสนอแนะส�ำหรับนักวิจัยรุ่นหลังในการวิจัยต่อเนื่อง เพื่อให้ได้ผลการวิจัยท่ีสมบูรณ์ท่ีตรงตามทฤษฎี หรือ
เสนอการวจิ ยั ซา้ํ เพอ่ื ตรวจสอบวา่ มคี วามขดั แยง้ ระหวา่ งทฤษฎกี บั ผลการวจิ ยั ทเ่ี กดิ ขน้ึ จากขอ้ จำ� กดั ในการวจิ ยั
หรือความไม่สมบูรณ์ของการวิจัย เพื่อเสนอให้ท�ำวิจัยซ้ําโดยปรับปรุงลดข้อจ�ำกัดและปรับเพ่ิมให้การวิจัย
สมบูรณ์ และ/หรือการเพ่ิมความรู้ใหม่ที่ได้จากการศึกษาทบทวนวรรณกรรมใหม่เพิ่มขึ้นให้เห็นแนวทางใน
การปรับปรุงงานวิจัยเดิม หรืองานวิจัยต่อยอด และ 4) การเสนอ ‘ขอ้ เสนอแนะในการวิจัยเจาะลกึ และขยาย
องคค์ วามรู้ รวมทงั้ สงั เคราะหง์ านวจิ ยั ’ โดยการนำ� ผลการอภปิ รายดา้ นประโยชนเ์ ชงิ วชิ าการมาพจิ ารณาทำ� การ
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72