Page 29 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 29

การออกแบบการวิจัย 3-19

เรื่องที่ 3.2.1 ค�ำถามวิจัยเชงิ พรรณนา

       เคอลิงเจอร์ (Kerlinger, 1986, p. 348) กล่าวว่า การวิจัยเชิงพรรณนาเป็นการสืบเสาะหาความรู้เชิง
ประจักษ์อย่างเป็นระบบ โดยนักวิจัยไม่สามารถควบคุมตัวแปรอิสระได้ เพราะสิ่งที่ศึกษาเป็นส่ิงที่มีอยู่แล้ว
หรือเกิดข้ึนแล้ว หรืออาจเป็นเพราะธรรมชาติหรือเน้ือหาของตัวแปรท่ีศึกษาไม่สามารถจัดกระท�ำได้ การวิจัย
เชิงพรรณนา (descriptive research) มีจุดมุ่งหมายเพ่ืออธิบายให้เห็นภาพของปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่
เกิดข้ึนตามธรรมชาติ (Hedrick, Bickman, & Rog, 1993, p. 44)

       คำ� ถามวจิ ยั ของการวจิ ยั เชงิ พรรณนามคี วามหลากหลาย อาจเปน็ คำ� ถามวจิ ยั เกยี่ วกบั การอธบิ าย การ
เปรียบเทียบ และการหาความสัมพันธ์ก็ได้ เช่น การตั้งค�ำถามเก่ียวกับความสัมพันธ์ของตัวแปร การเปรียบ
เทียบค่าของตัวแปรของประชากรกลุ่มหน่ึงกับเกณฑ์ หรือการต้ังค�ำถามวิจัยเกี่ยวกับปริมาณความมากน้อย
ของตัวแปรหน่ึงตัวหรือมากกว่าหนึ่งตัว

       เมลตซ์ อฟฟ์ (Meltzoff, 1997) ไดจ้ ดั ประเภทของคำ� ถามวจิ ยั ออกเปน็ ประเภทตา่ ง ๆ รวม 8 ประเภท
ในจ�ำนวน 8 ประเภทน้ี มีค�ำถามวิจัย 5 ประเภท ที่สามารถจัดเป็นค�ำถามวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับการวิจัยเชิง
พรรณนาได้ดังต่อไปน้ี

       1.	 คำ� ถามวจิ ยั เกย่ี วกบั การเกดิ ขนึ้ ของปรากฏการณ์ (existence questions) ค�ำถามวิจัยประเภทนี้มุ่ง
ศึกษาว่ามีอะไรก�ำลังเกิดข้ึน โดยเน้นประเด็นเกี่ยวกับปรากฏการณ์ท่ีสังคมสนใจ แต่ยังมีความคลุมเครือ
เพราะยังไม่ปรากฏความชัดเจน การท�ำวิจัยเพ่ืออธิบายหรือแสดงว่ามีปรากฏการณ์ท่ีสนใจเกิดข้ึนหรือไม่
จึงเป็นการท�ำให้เร่ืองน้ันชัดเจนมากข้ึน การวิจัยประเภทน้ีเป็นการวิจัยท่ีต้องการบรรยายสิ่งที่ก�ำลังเกิดข้ึน
เช่น การตั้งค�ำถามวิจัยว่า โรงเรียนสามารถบริหารจัดการด้วยตนเองแบบนิติบุคคลได้หรือไม่ คุณภาพการ
ศึกษาวิชาวิทยาศาสตร์เป็นอย่างไร นักเรียนจ�ำนวนเท่าไรท่ีมีความรู้ความสามารถผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
หลกั สตู ร คณุ ภาพของการวจิ ยั ประเภทนขี้ น้ึ อยกู่ บั กลมุ่ ตวั อยา่ งทเ่ี ลอื กมาศกึ ษา และเครอื่ งมอื ทใี่ ชเ้ กบ็ รวบรวม
ข้อมูลวิจัย

       2.	 คำ� ถามวจิ ยั เกยี่ วกบั การอธบิ ายและการจดั ประเภท (questions of description and classification)
ค�ำถามวิจัยประเภทน้ีคล้ายกับค�ำถามวิจัยเกี่ยวกับการเกิดข้ึนของปรากฏการณ์ในสังคม แต่มีความละเอียด
ในการศึกษามากกว่า เพราะการวิจัยประเภทน้ีมุ่งศึกษาอธิบายคุณลักษณะของกลุ่มประชากรย่อย ๆ เช่น
ค�ำถามวิจัยว่าโรงเรียนขนาดเล็กและโรงเรียนขนาดใหญ่แก้ไขปัญหาการขาดแคลนครูอย่างไร ในการท่ีจะ
ตอบค�ำถามวิจัยน้ี นักวิจัยต้องระบุให้ได้ก่อนว่าโรงเรียนขนาดเล็กและโรงเรียนขนาดใหญ่ที่ต้องการศึกษามี
โรงเรยี นใดบา้ ง จากนน้ั จงึ ศกึ ษาวจิ ยั เกยี่ วกบั การแกไ้ ขปญั หาของทง้ั โรงเรยี นขนาดใหญแ่ ละโรงเรยี นขนาดเลก็
เพ่ือให้มองเห็นท้ังความเหมือนและความต่างของวิธีการท่ีโรงเรียนท้ังสองขนาดด�ำเนินการ

       3.	 คำ� ถามวจิ ยั เกยี่ วกบั การหาองคป์ ระกอบ (questions of composition) ค�ำถามวิจัยประเภทนี้มุ่งต้ัง
ค�ำถามเพื่อให้ทราบว่าสิ่งที่ต้องการศึกษามีองค์ประกอบอะไรบ้าง ซ่ึงส่วนใหญ่เป็นค�ำถามวิจัยเกี่ยวกับการวัด
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34