Page 32 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 32

3-22 การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา

       การวิจัยเชิงสหสัมพันธ์มีลักษณะดังน้ี
            1)	 เป็นการศึกษาท่ีเก่ียวข้องกับการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อตัดสินว่ามีความสัมพันธ์เกิดขึ้น

ระหว่างตัวแปรเชิงปริมาณสองตัวหรือมากกว่าหรือไม่ และในระดับใด
            2)	ขนาดของความสมั พนั ธพ์ จิ ารณาไดจ้ ากขนาดของคา่ สมั บรู ณข์ องคา่ สมั ประสทิ ธสิ์ หสมั พนั ธ์
            3)	ถ้าตัวแปร 2 ตัวมีความสัมพันธ์กัน อาจแปลความหมายได้ว่า คะแนนที่ได้จากการวัด

ตัวแปรหนึ่งจะมีความสัมพันธ์กับคะแนนที่ได้จากการวัดตัวแปรอีกตัว
            4)	การมีความสัมพันธ์เกิดขึ้นระหว่างตัวแปร ไม่ได้แสดงถึงความเป็นเหตุและเป็นผลระหว่าง

ตัวแปร 2 ตัว
            5)	 การศึกษาเชิงสหสัมพันธ์เป็นการประมาณขนาดและทิศทางของความสัมพันธ์ระหว่าง

ตัวแปร
            6)	ยง่ิ ตวั แปรสองตวั มคี วามสมั พนั ธก์ นั สงู การทำ� นายทใ่ี ชค้ วามสมั พนั ธร์ ะหวา่ งตวั แปรทงั้ สอง

ตัวย่ิงมีความถูกต้องมากข้ึน
       การวิจัยเชิงสหสัมพันธ์มีหลากหลายรูปแบบ และนักวิจัยทางการศึกษาส่วนใหญ่ท�ำวิจัยโดยใช้

รปู แบบการวจิ ยั เชงิ สหสมั พนั ธ์ รปู แบบการวจิ ยั เชงิ สหสมั พนั ธท์ ใ่ี ชก้ นั มาก คอื การวเิ คราะหก์ ารถดถอยพหคุ ณู
(multiple regression) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ (path analysis) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์
อย่างง่าย (simple regression) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วยสถิตินันพาราเมตริก และการวิเคราะห์พหุ
ระดับ (multilevel analysis)

            1.3.1	 การวเิ คราะหค์ วามสมั พนั ธอ์ ยา่ งงา่ ย (simple regression) เชน่ การวเิ คราะหค์ วามสมั พนั ธ์
แบบเพยี รส์ นั สำ� หรบั ขอ้ มลู สองตวั ทเี่ ปน็ ตวั แปรเชงิ ปรมิ าณ ทศิ ทางของความสมั พนั ธพ์ จิ ารณาจากเครอื่ งหมาย
ของค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ที่ค�ำนวณได้ เครื่องหมายท่ีเป็นบวกแสดงว่า ตัวแปรท้ัง 2 ตัว มีความสัมพันธ์
ไปในทิศทางเดียวกัน มีความแปรปรวนไปในทิศทางเดียวกัน น่ันคือ ผู้ท่ีมีค่าการวัดจากตัวแปรหนึ่งสูง
จะไดค้ า่ การวดั จากอกี ตวั แปรสงู ดว้ ย และผใู้ ดทม่ี คี า่ การวดั จากตวั แปรหนงึ่ ตำ�่ กจ็ ะไดค้ า่ การวดั จากอกี ตวั แปร
หน่ึงต่�ำด้วย การจะเป็นเช่นน้ีมากน้อยแค่ไหนอยู่ที่ขนาดของความสัมพันธ์

            การพิจารณาความสัมพันธ์ของตัวแปร ท�ำได้โดยการวาดภาพการกระจายของตัวแปรทั้งสอง
(scatter plot) ดังภาพที่ 3.3 ซึ่งแสดงการกระจายของตัวแปรความพร้อมในการท�ำงาน (readiness) และ
ศักยภาพ (potential) ของสถานศึกษา (ความสัมพันธ์ของตัวแปรทั้งสอง คือ r = .161, p < 0.05) ซึ่งมีความ
สัมพันธ์กันน้อย วิธีการวิเคราะห์ความสัมพันธ์มีจ�ำนวนมาก การเลือกใช้วิธีการวิเคราะห์จะข้ึนอยู่กับประเภท
ของข้อมูล เช่น ข้อมูลเชิงคุณภาพ และข้อมูลเชิงปริมาณ จะใช้สถิติวิเคราะห์ความสัมพันธ์ต่างกัน
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37