Page 37 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 37
การออกแบบการวิจัย 3-27
ภาพที่ 3.6 สมั ประสิทธ์กิ ารถดถอยคะแนนผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นของหอ้ งเรยี น 1,000 ห้อง
ในการวิเคราะห์ข้อมูล เม่ือนักวิจัยศึกษาปัจจัยนักเรียนและระดับชั้นเรียนที่ส่งผลต่อผล
สัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนเช่นนี้ จะสามารถท�ำการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุระดับ โดยให้ตัวแปร
ระดับนักเรียนเป็นระดับจุลภาค (micro level) หรือระดับท่ี 1 และตัวแปรระดับช้ันเรียนเป็นระดับมหภาค
(macro level) หรือระดับที่ 2 ได้ดังนี้
1) วิเคราะห์ระดบั นกั เรียน (micro level analysis) โดยศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง Yig
กับ Xig โดยแยกการวิเคราะห์การถดถอยในแต่ละช้ันเรียน มีรูปแบบดังนี้
Yig = αg + BYXig + Eig
เม่ือ Yig แทน ตัวแปรระดับนักเรียน เชน่ ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของนกั เรียน
คนท่ี i ช้นั เรียนที่ g
Xig แทน ตัวแปรอสิ ระระดบั นักเรียน เช่น ฐานะทางเศรษฐกจิ ของนกั เรยี น
คนท่ี i ชัน้ เรยี นท่ี g
αg แทน ค่าคงท่ีจุดตัดแกน intercept ของตัวแปรระดับนักเรียน ใน
ช้นั ท่ี g (g = 1 — m)
BY แทน อ ตั ราการพฒั นาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นเมอื่ ตวั แปรระดบั นกั เรยี น
เปล่ยี นแปลงค่าไป 1 หนว่ ย
Eig แทน (ค0ว,าσมค2)ลโาดดยเคทล่หี ่ืออ้ นงเใรนียกนาแรตท่ล�ำนะหายอ้ งYเปigน็ รอะสิ ดรับะตน่อักกเรนั ียน และ E~N