Page 32 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 32

4-22 การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา

เช่น สุ่มมา 3 กลุ่ม ส่วนภาพ (ง) ประชากรแบ่งเป็นกลุ่ม ๆ มีการสุ่มตัวอย่าง 2 ขั้นตอน ข้ันตอนแรก
สุ่มตัวอย่างแบบกลุ่มได้ 3 กลุ่ม และขั้นตอนท่ีสอง สุ่มตัวอย่างจากสมาชิกแต่ละกลุ่ม กลุ่มละ 1 หน่วย
จึงได้กลุ่มตัวอย่างที่ต้องการ

       วิธีการสุ่มตัวอย่างโดยใช้หลักความน่าจะเป็นมีหลายวิธี แต่ละวิธีมีลักษณะ ข้อดีและข้อจ�ำกัด
สรุปได้ดังตารางท่ี 4.1

           ตารางที่ 4.1 ลกั ษณะ ข้อดแี ละข้อจำ�กดั ของการสุ่มตัวอย่างโดยใช้หลกั ความนา่ จะเปน็

 วธิ ีการสุ่ม          ลกั ษณะ                           ขอ้ ดี                             ข้อจำ�กดั
วิธีการสุ่ม    ประชากรมีลักษณะไม่แตก            ง่ายต่อการด�ำเนินการสุ่ม             -	 ไม่เหมาะท่ีจะน�ำไปใช้กับ
แบบง่าย        ต่างกัน สมาชิกแต่ละหน่วย                                              	 ประชากรท่ีมีความแตกต่าง
               ของประชากรมีโอกาสถูก             -	 ออกแบบการสุ่มได้ง่าย              	 กันมาก
               เลือกเป็นตัวอย่าง อาจได้มา       -	เสยี เวลานอ้ ย เสยี คา่ ใชจ้ า่ ย  -	 ต้องมีบัญชีรายช่ือสมาชิก
               โดยวิธีการจับสลาก วิธีใช้        	 น้อย และมีความผิดพลาด              	 ทุกหน่วยของประชากร
               ตารางเลขสุ่ม หรือวิธีใช้         	 น้อย                               -	 ไม่เหมาะกับกลุ่มตัวอย่าง
               คอมพิวเตอร์                      -	 ถ้าประชากรจัดเรียงล�ำดับ          	 ขนาดใหญ่
                                                	 ของหน่วยตัวอย่างวิธีน้ีจะ          -	ใช้เวลามากและคา่ ใช้จา่ ยสงู
วิธีการสุ่ม เลือกกลุ่มตัวอย่างเร่ิมต้น          	 มีประสิทธิภาพสูงกว่าการ            - 	จ ะได้ประมาณค่าประชากร
แบบเป็นระบบ จากประชากร โดยการสุ่ม               	 สุ่มแบบง่าย                         คงท่ีเอนเอียง ถ้าหาก
                                                -	 สามารถควบคุมขนาดของ               	 N ≠ kn
             และเลอื กตวั อยา่ งทุกลำ� ดบั ที่  	 กลุ่มตัวอย่างแต่ละชั้นได้          -	ถ ้าประชากรมีแนวโน้มการ
             k ของช่วงการสุ่ม                   -	 ได้กลุ่มตัวอย่างท่ีเป็น
                                                	 ตัวแทนของประชากรย่อย                เปล่ียนแปลงข้ึนลงเป็น
วิธีการสุ่ม    แบ่งประชากรออกเป็น               -	 มีประสิทธิภาพสูงใน                 รอบ (periodicity) อาจได้
แบบแบ่งชั้น    ประชากรย่อยหรือเป็นช้ัน          	 เชิงสถิติ                           ตัวอย่างที่ล�ำเอียง
               โดยที่สมาชิกในแต่ละชั้นมี        -	 สามารถใช้วิธีการสุ่ม
               ความคล้ายคลึงกัน แต่มี           	 ตัวอย่างท่ีแตกต่างกัน              - 	เสียเวลาและค่าใช้จ่ายสูง
               ความแตกต่างกันระหว่างช้ัน        	 ในแต่ละช้ันได้                     -	 ก ารประมาณคา่ พารามเิ ตอร์
               ต่อจากน้ันจึงสุ่มกลุ่ม
               ตัวอย่างจากแต่ละชั้น                                                   ยุ่งยากมาก ถ้าแต่ละชั้น
                                                                                      ใช้วิธีการสุ่มที่แตกต่างกัน
                                                                                      อาจจะมผี ลทำ� ใหเ้ กดิ ความ
                                                                                      คลาดเคล่ือนที่ไม่ได้เกิด
                                                                                      จากการใช้ตัวอย่าง
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37