Page 31 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 31
การออกแบบการเลือกกลุ่มตัวอย่าง 4-21
รวมกลุ่มตัวอย่างที่เก็บรวบรวมข้อมูลท้ังหมดจ�ำนวน 4,992 คน จ�ำแนกเป็น
1) ผู้บริหารโรงเรียน จ�ำนวน 78 คน (13 × 6 × 1)
2) ครูผู้สอนวิชาคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จ�ำนวน 234 คน (13 × 6 × 3)
3) นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น จ�ำนวน 4,680 คน (13 × 6 × 60)
ข้อดีและข้อจ�ำกัดของการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน
1) ข้อดีของการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบหลายข้ันตอน การสุ่มตัวอย่างแบบนี้เหมาะสมที่จะใช้
กับการสุ่มกลุ่มตัวอย่างท่ีประชากรมีขนาดใหญ่ มีขอบเขตกว้างขวาง และเหมาะสมในกรณีที่ไม่มีกรอบ
ตัวอย่างท่ีสมบูรณ์ การสุ่มแบบน้ีสะดวกและประหยัดค่าใช้จ่ายในการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
2) ข้อจ�ำกัดของการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน อาจท�ำให้เสียค่าใช้จ่ายสูง และการ
ประมาณค่าพารามิเตอร์ยุ่งยากมากข้ึน
การสุ่มตัวอย่างโดยใช้หลักความน่าจะเป็นมีหลายวิธี ความแตกต่างของวิธีการสุ่มตัวอย่างแต่ละวิธี
แสดงได้ด้วยภาพที่ 4.3
วิธีการสุ่มแบบง่าย วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น วิธีการสุ่มแบบกลุ่ม วิธีการสุ่มแบบสองข้ันตอน
(ก) (ข) (ค) (ง)
ภาพท่ี 4.3 แสดงวธิ กี ารสมุ่ ตวั อย่างโดยใชห้ ลกั ความนา่ จะเปน็
จากภาพที่ 4.3 จะเห็นว่าจากประชากรเดียวกัน (สมมติว่าประกอบด้วยตัวอักษรในภาษาอังกฤษ A
ถึง Z) กรณภี าพ (ก) หน่วยตัวอย่างแต่ละหน่วยมีลกั ษณะคล้ายคลงึ กัน สามารถสมุ่ ตวั อยา่ งแบบงา่ ยได้ กรณี
ภาพ (ข) ประชากรแบง่ เปน็ ชน้ั ได้ 3 ชนั้ โดยแต่ละช้ันมีจำ� นวนสมาชกิ ไม่เทา่ กนั สามารถสุม่ ตวั อยา่ งจากแตล่ ะ
ชั้นตามสัดส่วนของจ�ำนวนประชากร กรณีภาพ (ค) ประชากรถูกจัดเป็นกลุ่ม ๆ อาจใช้วิธีการสุ่มแบบกลุ่ม