Page 74 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 74

6-64 การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา

เร่อื งที่ 6.4.2 	การสรา้ งและตรวจสอบคุณภาพแบบวดั คณุ ลกั ษณะ
	 คุณธรรม จริยธรรม

       การวัดคุณลักษณะ คุณธรรม จริยธรรม จ�ำแนกเป็น 2 แนวทาง คือ การวัดพฤติกรรมโดยตรงด้วย
วธิ กี ารสงั เกต กับการวดั ทางอ้อมดว้ ยแบบวดั สถานการณ์ และแบบมาตรประมาณคา่ การวัดทัง้ 2 แนวทางน้ี
ก็มีข้ันตอนการสร้างเคร่ืองมือเหมือนกันในการก�ำหนดความหมาย ตัวช้ีวัด และพฤติกรรมบ่งช้ีของตัวอย่าง
การสร้างแบบวัดการมีจิตสาธารณะ แต่ต่างกันในขั้นตอนการออกแบบการสร้างแบบวัดแต่ละประเภท

1. 	การสรา้ งแบบสงั เกตการวดั คณุ ลักษณะ คุณธรรม จริยธรรม

       การวัดพฤติกรรมคุณลักษณะ คุณธรรม จริยธรรม โดยตรงด้วยวิธีการสังเกต เครื่องมือวัดคือ
แบบสังเกต ข้ันตอนการสร้างประกอบด้วย

       ขั้นตอนที่ 1 การวางแผนสร้างเครื่องมอื
            1.1 	ก�ำหนดพฤติกรรมท่ีต้องการวัด เป็นการก�ำหนดขอบเขตการวัด ว่าวัดอะไร กับใคร

ตัวอย่างการวัดพฤติกรรมการมีจิตสาธารณะของเยาวชนในโรงเรียน
            1.2 	ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี ผลการศึกษาเกี่ยวกับการวัดพฤติกรรมทางจริยธรรม การสร้าง

แบบสังเกต การมีจิตสาธารณะของคนในสังคม
            ตัวอย่างการค้นคว้าศึกษาความหมายขององค์ประกอบหรือโครงสร้างของการมีจิตสาธารณะ

ความหมาย และตัวช้ีวัดของการมีจิตสาธารณะ

          จิตสาธารณะ หมายถึง การตระหนักรู้และค�ำนึงถึงส่วนรวมร่วมกัน หรือการค�ำนึงถึงผู้อ่ืนที่ร่วม
  สัมพันธ์เป็นกลุ่มเดียวกัน (ราชบัณฑิตยสถาน, 2542)

          จิตสาธารณะ หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงออกถึงการมีส่วนร่วมในกิจกรรมหรือสถานการณ์ที่ก่อ
  ใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ กผ่ อู้ นื่ ชมุ ชน และสงั คม ดว้ ยความเตม็ ใจ กระตอื รอื รน้ โดยไมห่ วงั ผลตอบแทน (สำ� นกั งาน
  คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน, 2551, น. 52)

          จิตสาธารณะ หมายถึง การรู้จักเอาใจใส่ เป็นธุระ เข้าร่วมในเร่ืองของส่วนรวมที่ใช้ประโยชน์ร่วมกัน
  ของกลุ่ม เสียสละเพ่ือส่วนรวมโดยพิจารณาจากความรู้ พฤติกรรรมที่แสดงออก ดังน้ี (ลัดดาวัลย์ เกษมเนตร
  และคณะ, 2546, น. 15)

          1) หลีกเล่ียงการใช้หรือการกระท�ำท่ีจะท�ำให้เกิดความช�ำรุดเสียหายต่อของส่วนรวมที่ใช้ประโยชน์
  ร่วมกันของกลุ่ม รวมถึงการถือเป็นหน้าท่ีที่จะมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาของส่วนรวมในวิสัยที่ตนสามารถ
  ท�ำได้

          2) 	การเคารพสทิ ธใิ นการใชข้ องสว่ นรวมที่ใช้ประโยชนร์ ว่ มกันของกลมุ่ โดยไม่ยึดครองของส่วนรวม
  นั้นเป็นของตน ตลอดจนไม่ปิดกั้นโอกาสของบุคคลอื่นท่ีจะใช้ของส่วนรวมนั้น
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79