Page 70 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 70

6-60 การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา

รวมเอาความรู้และความรู้สึกไว้ด้วยกัน เจตคติทางจริยธรรมของบุคคลสอดคล้องและท�ำนายพฤติกรรมทาง
จริยธรรมได้มากกว่าความรู้ทางจริยธรรม

            3) 	เหตผุ ลทางจรยิ ธรรม หมายถงึ เหตผุ ลทบี่ คุ คลใชเ้ ปน็ เกณฑใ์ นการเลอื กหรอื ไมเ่ ลอื กกระทำ�  
เหตุผลทางจริยธรรมเป็นเหตุจูงใจเป็นที่มาของพฤติกรรมการแสดงออกของบุคคล บุคคลที่มีเหตุผลทาง
จริยธรรมในระดับที่แตกต่างกันอาจมีการกระท�ำท่ีคล้ายคลึงกันหรือแตกต่างกันก็ได้ และเหตุผลทาง
จริยธรรมยังมีความสัมพันธ์กับพัฒนาการทางสติปัญญาและทางอารมณ์ด้วย

            4)	 พฤตกิ รรมทางจรยิ ธรรม หมายถงึ การแสดงพฤตกิ รรมทพี่ งึ ประสงคข์ องสงั คมและปฏเิ สธ
การแสดงพฤติกรรมทีไ่ มพ่ ึงประสงค์ พฤตกิ รรมทางจรยิ ธรรมมีความสำ� คัญตอ่ ความสงบสุขและความม่ันคง
ของสังคม สมาชิกในสังคมจึงต้องอบรมและปลูกฝังเยาวชนให้มีพฤติกรรมทางจริยธรรมท่ีม่ันคง

            จะเห็นได้ว่าการมีความรู้ เจตคติ เหตุผลทางจริยธรรม เป็นข้ันตอนเบื้องต้น การท่ีจะทราบ
ว่าบุคคลมีคุณธรรมและจริยธรรมหรือไม่ ต้องวัดท่ีพฤติกรรมการกระท�ำของบุคคล

            ทฤษฎีต้นไม้จริยธรรม (ดวงเดือน พันธุมนาวิน, 2539) ได้ท�ำการศึกษาวิจัยถึงสาเหตุ
พฤติกรรมของคนดีและคนเก่ง โดยได้ท�ำการประมวลผลการวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับการศึกษาสาเหตุของ
พฤติกรรมต่าง ๆ ของคนไทยท้ังเด็กและผู้ใหญ่ อายุต้ังแต่ 6-60 ปี ว่าพฤติกรรมเหล่านั้น มีสาเหตุทางจิตใจ
อะไรบ้าง และได้น�ำมาประยุกต์เป็นทฤษฎีต้นไม้จริยธรรมส�ำหรับคนไทยขึ้น โดยแบ่งต้นไม้จริยธรรม
ออกเป็น 3 ส่วน คือ

            ส่วนท่ีหนึ่ง ได้แก่ ดอกและผลไม้บนต้น ท่ีแสดงถึงพฤติกรรมการท�ำดีละเว้นช่ัวและ
พฤติกรรมการท�ำงานอย่างขยันขันแข็งเพ่ือส่วนรวม ซ่ึงล้วนแต่เป็นพฤติกรรมของพลเมืองดี พฤติกรรมที่
เอื้อเฟื้อต่อการพัฒนาประเทศ

            สว่ นทส่ี อง ไดแ้ ก่ สว่ นลำ� ตน้ ของตน้ ไม้ พฤตกิ รรมของคนดแี ละคนเกง่ นนั้ มลี กั ษณะทางจติ ใจ
ท่ีส�ำคัญ 5 ประการ คือ 1) เหตุผลเชิงจริยธรรม การเห็นแก่ผู้อ่ืน ส่วนรวมของประเทศชาติ และหลักสากล
มากกว่าตนเอง 2) มุ่งอนาคตและการควบคุมตนเองให้อด ให้รอได้อย่างเหมาะสม 3) ความเชื่ออ�ำนาจในตน
เช่ือว่าผลที่เกิดข้ึนกับตน เป็นเพราะการกระท�ำของตนเองมากกว่าการเกิดจากการบังเอิญ 4) แรงจูงใจ
ใฝ่สัมฤทธิ์ ความมุมานะบากบ่ัน ฝ่าฝันอุปสรรค และ 5) ทัศนคติ คุณธรรม และค่านิยม พอใจและเห็น
ความส�ำคัญของความดีงาม เห็นโทษของความชั่วร้าย พร้อมที่จะกระท�ำพฤติกรรมท่ียึดคุณธรรมเป็นหลัก

            ส่วนที่สาม ได้แก่ รากของต้นไม้ ท่ีแสดงถึงพฤติกรรมการท�ำงานอาชีพอย่างขยันขันแข็ง
ซ่ึงประกอบด้วยจิตลักษณะ 3 ด้าน คือ 1) สติปัญญา 2) ประสบการณ์ทางสังคม และ 3) สุขภาพจิต

       2.5 	แนวทางการวัดคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2550 กำ� หนดคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผเู้ รยี น (good character) ไว้ 8 ประการ
คือ 1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2) ซ่ือสัตย์สุจริต 3) มีวินัย 4) ใฝเ่ รยี นรู้ 5) อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง 6) มงุ่ มนั่ ใน
การทำ� งาน 7) รกั ความเปน็ ไทย และ 8) มจี ติ สาธารณะ หนว่ ยงานการศึกษาได้จัดท�ำแนวทางการวัดและประเมิน
ซึ่งแต่ละคุณลักษณะมีความหมาย ตัวชี้วัด พฤติกรรมท่ีบ่งช้ี และตัวอย่างการก�ำหนดเกณฑ์การประเมิน
ตัวอย่างเคร่ืองมือวัดเฉพาะผู้ที่อยู่ในวัยการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ในท่ีน้ียกตัวอย่าง 2 คุณลักษณะ ดังนี้
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75