Page 47 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 47
5-37
แนวตอบกจิ กรรมหน่วยที่ 5
การสร้างเคร่อื งมอื วดั ด้านพุทธิพสิ ัย
ตอนท่ี 5.1 แนวคิดเกย่ี วกับการวัดด้านพทุ ธพิ ิสัย
แนวตอบกิจกรรม 5.1.1
ความแตกต่างระหว่างพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยของบลูมตามแนวคิดเดิมกับแนวคิดใหม่ มีดังน้ี
1. ค�ำที่ใช้ในการวัดพฤติกรรม พฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยของบลูมแบบเดิมแบ่งพฤติกรรมเป็น 6
ล�ำดับขั้น คือ ความรู้-ความจ�ำ (knowledge) ความเข้าใจ (comprehension) การน�ำไปใช้ (application)
การวเิ คราะห์ (analysis) การสงั เคราะห์ (synthesis) และการประเมนิ คา่ (evaluation) สว่ นแบบใหมจ่ ำ� แนก
เป็น 6 ล�ำดับข้ันเหมือนเดิมแต่ปรับค�ำที่ใช้ คือ การจ�ำ (remembering) ความเข้าใจ (understanding) การ
ปรับใช้ (applying) การวิเคราะห์ (analyzing) การประเมิน (evaluating) และการสร้างสรรค์ (creating)
2. รปู แบบการวดั พฤตกิ รรม พฤตกิ รรมดา้ นพทุ ธพิ สิ ยั ของบลมู แบบเดมิ แบง่ พฤตกิ รรมการใชส้ มอง
เพ่ือการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัยจากการเรียนรู้ข้ันพื้นฐานไปสู่ข้ันเรียนรู้ที่ซับซ้อนข้ึนไปตามล�ำดับเป็น 6 ล�ำดับ
ข้ัน คือ ความรู้-ความจ�ำ (knowledge) ความเข้าใจ (comprehension) การน�ำไปใช้ (application) การ
วิเคราะห์ (analysis) การสังเคราะห์ (synthesis) และการประเมินค่า (evaluation)
ส่วนพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยของบลูมแบบใหม่ แบ่งมิติการเรียนรู้ออกเป็น 2 มิติหลัก คือ 1) มิติ
ด้านความรู้ท่ีหลากหลาย แบ่งเป็น 4 ลักษณะย่อย ประกอบด้วย (1) ความรู้ที่เป็นข้อเท็จจริง (factual
knowledge) (2) ความรู้ท่ีเป็นมโนทัศน์ (conceptual knowledge) (3) ความรู้ที่เป็นกระบวนการข้ันตอน
(procedural knowledge) และ (4) ความรู้ในส่วนของการหยั่งรู้ถึงวิธีคิดของตนเอง (metacognitive
knowledge) 2) มิติด้านพฤติกรรมการวัด แบ่งเป็น 6 ล�ำดับข้ัน ประกอบด้วย (1) จ�ำ (remember)
(2) เข้าใจ (understand) (3) ประยุกต์ใช้ (apply) (4) วิเคราะห์ (analyze) (5) ประเมิน (evaluate)
และ (6) สร้างสรรค์ (create)
แนวตอบกจิ กรรม 5.1.2
เครื่องมือวัดด้านพุทธิพิสัย สามารถจ�ำแนกได้ตามคุณลักษณะท่ีวัด ตามผู้สร้าง และตามรูปแบบ
การแสดงออก ดังรายละเอียดต่อไปนี้