Page 31 - ไทยศึกษา
P. 31

สังคมไทย ๕-21

พระมหากษตั ริย์

เจ้านาย          ชนช้ันปกครอง
ขนุ นาง                    คนกลางที่มบี ทบาทในการ
พระสงฆ์                    เชือ่ มโยงกลมุ่ คนในสงั คม

ไพร่   ผ้อู ย่ใู ตป้ กครอง

ทาส

    ภาพท่ี ๕.๔ แผนภูมิแสดงชนชน้ั ในสงั คมไทยสมยั จารตี ทกี่ ำ� หนดสถานะทางสังคมตามระบบศักดนิ า
       นักวิชาการท่ีศึกษาเรื่องระบบศักดินาได้เติมค�ำว่า ไร่ หลังตัวเลขที่บอกจ�ำนวนศักดินา และให้

ความเหน็ วา่ การที่น�ำมาตราวัดท่ีดิน (ไร)่ มาเป็นเครอ่ื งก�ำหนดอ�ำนาจหน้าที่ สิทธิ และฐานะของคนใน
สงั คมนนั้ เพราะพนื้ ฐานทางเศรษฐกจิ ของสงั คมไทยในสมยั จารตี อยทู่ กี่ ารเกษตร จงึ มคี วามผกู พนั กบั ทดี่ นิ
อย่างมาก ฉะนั้นเมื่อจะคิดระบบขึ้นมาเพ่ือก�ำหนดอ�ำนาจหน้าที่ สิทธิ และฐานะของคนในสังคม จึงเอา
มาตราวดั ทด่ี นิ เปน็ เครอ่ื งกำ� หนด โดยทม่ี ไิ ดม้ กี ารครอบครองทด่ี นิ จรงิ ๆ และเรยี กระบบทค่ี ดิ ขนึ้ วา่ ศักดินา
แยกตามคำ� ศพั ท์ ศกั ดิ์ แปลวา่ อำ� นาจ นา หมายถงึ ทด่ี นิ ทใ่ี ชท้ ำ� การเพาะปลกู ศกั ดนิ า จงึ มคี วามหมายวา่
นาแห่งอ�ำนาจหรือนาแห่งศักดิ์ เพ่ือให้เห็นแตกต่างจากนาท่ีเป็นเน้ือท่ีดินส�ำหรับปลูกข้าว หรือประกอบ
การกสกิ รรมอยา่ งอืน่ (หม่อมราชวงศค์ ึกฤทธ์ิ ปราโมช, ๒๕๑๖, น. ๕๔)

       กล่าวโดยสรุป ด้วยการแยกประเภทและจัดฐานะของคนทุกกลุ่มในสังคมตามล�ำดับช้ัน ระบบ
ศักดินาจึงเปรียบเสมือนแผนที่ท่ีแสดงโครงสร้างการจัดระเบียบชนช้ันในสังคมไทยสมัยจารีต เป็นดัชนีช้ี
บอกฐานะของผถู้ อื ศกั ดนิ า ชบี้ อกความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งผทู้ อ่ี ยเู่ หนอื กวา่ และผทู้ อี่ ยตู่ ำ�่ กวา่ รวมทงั้ เปน็ กลไก
สำ� หรบั ควบคุมความม่ังค่ังและควบคุมการปกครองตามล�ำดบั ช้นั ดว้ ย

       ๓. 	การเป็นสิทธิในการถือครองท่ีดิน ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งระบบศกั ดนิ าและปจั จยั การผลติ เรอ่ื ง
ทด่ี ินนั้น นกั วิชาการที่ศกึ ษาตีความในแงน่ ้ีมแี นวคดิ ตา่ งกนั เป็น ๒ แนว แนวคิดหนึ่ง เสนอความคิดเห็น
ว่า ในสังคมไทยสมัยจารีตท่ีขุนนางไม่มีเงินเดือนและพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจอยู่ที่การเกษตรน้ัน ท่ีดินเป็น
ทรัพยากรที่มีค่า เพ่ือป้องกันมิให้ผู้คนในสังคมแย่งที่ดินกันและมิให้มีท่ีดินเกินก�ำลังที่จะบุกเบิกเพาะปลูก
จึงได้ตรากฎหมายศักดินาขึ้นเพ่ือให้แต่ละคนมีที่ดินตามก�ำลังความสามารถ ต่อมาได้น�ำระบบศักดินาไป
ใชก้ ำ� หนดสถานะของผู้คนในสงั คมดว้ ย

       สว่ นอกี แนวคดิ หนง่ึ ซง่ึ ใชท้ ฤษฎมี ารก์ ซสิ ตใ์ นการศกึ ษาเสนอความเหน็ วา่ ระบบศกั ดนิ าเกยี่ วขอ้ ง
กบั กรรมสิทธิใ์ นท่ดี นิ ซงึ่ เปน็ ปัจจยั การผลิตท่ีสำ� คัญ เจ้านาย ขนุ นาง และวดั เป็นผู้ได้รบั กรรมสิทธิ์ในการ
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36