Page 57 - สื่อศึกษา
P. 57
ส่อื กบั เพศสภาวะ 14-47
เรื่องที่ 14.3.3
ส่ือกับเพศสภาวะในมิติของผู้ใช้สื่อและผู้รับสาร
ในมิติของผู้ใช้สื่อและผู้รับสารนั้น หรือท่ีเรียกว่า การวิเคราะห์ผู้รับสาร (audience analysis)
มพี ฒั นาการและเปลีย่ นมุมมองว่า ผู้รบั สารมีลักษณะเปน็ ฝา่ ยตง้ั รบั (passive audience) มาเปน็ ผู้รับสาร
มลี กั ษณะเชงิ รุก (active audience) ซง่ึ พฒั นาการของการศกึ ษาผ้รู บั สารทส่ี �ำคัญคือ การวิเคราะห์ความ
สัมพนั ธ์ของวถิ ชี วี ิตทัง้ หมดของผู้รับสารและพฤตกิ รรมการรับสาร/ใช้ส่อื ประเภทต่างๆ หรอื ทเี่ รียกว่า การ
ศกึ ษาแบบแผนการรบั ชม (viewing pattern) โดยวเิ คราะหถ์ งึ สถานท/่ี พนื้ ทใี่ นการรบั สาร บคุ คลทรี่ บั สาร
ด้วยวธิ ีการรับสารทง้ั กอ่ น ระหวา่ ง และหลังการรับสาร เหตุผลของการรับสาร เปน็ ตน้
ในการศกึ ษาแบบแผนการรับชมหรือแบบแผนการใช้ส่อื นั้น สามารถศกึ ษาไดใ้ น 3 ประเด็น คือ
1) การศกึ ษาแบบแผนการใชเ้ วลา (time-use pattern) 2) การวเิ คราะหโ์ ครงสรา้ งของเนอ้ื หากบั โครงสรา้ ง
วถิ ชี วี ติ และ 4) การเปรยี บเทยี บความแตกตา่ งในการบรโิ ภคสอ่ื ระหวา่ งหญงิ ชายและผมู้ คี วามหลากหลาย
ทางเพศ (กาญจนา แก้วเทพ, 2554, น. 349) เพือ่ ไมใ่ หเ้ นอื้ หาซำ�้ ซ้อนกันกับทไี่ ด้กลา่ วไปแลว้ ในสว่ นน้ี
ผ้เู ขียนขอยกตัวอยา่ งของการศึกษาแบบแผนการใช้เวลา การวเิ คราะหโ์ ครงสร้างเนอื้ หากบั โครงสรา้ งและ
วิถชี ีวติ และการเปรียบเทยี บความแตกต่างในการบรโิ ภคส่ือเท่านนั้
1. การศึกษาแบบแผนการใช้เวลา (time-use pattern)
เป็นการศกึ ษาวิถีชีวติ ประจำ� วนั ท้งั หมดของผรู้ ับสารโดยมีการเปดิ รบั สารเปน็ สว่ นของวิถีชีวติ ซ่ึง
จะทำ� ใหเ้ หน็ วา่ แบบแผนของการใชเ้ วลาในการทำ� กจิ กรรมของผหู้ ญงิ และผชู้ ายในสงั คมจะเขา้ มาเกย่ี วขอ้ ง
กบั พฤติกรรมการรับสารจากสือ่ ประเภทต่าง ๆ
งานวิจัยของ นนั ทกา สุธรรมประเสริฐ (2549) ไดส้ าธติ ให้เหน็ ถงึ ความสัมพนั ธข์ องวิถีชีวติ ของ
แม่บ้านท่ีสัมพันธ์กับการบริโภคข่าว โดยผลการวิจัยพบว่า ในแต่ละช่วงของวันของแม่บ้านจะมีสื่อต่างๆ
ใหบ้ รโิ ภคอยตู่ ลอด หากแตล่ กั ษณะการบรโิ ภคจะแตกตา่ งกนั ไปตามวถิ ชี วี ติ ของแมบ่ า้ น กลา่ วคอื ชว่ งเชา้
ของแม่บ้านจะเป็นช่วงที่แม่บ้านท�ำงานบ้าน ลักษณะการบริโภคข่าวของแม่บ้านจะเป็นไปในลักษณะท่ีมี
การขัดจังหวะเปน็ ระยะๆ (distracted and interrupted) หรือทเ่ี รยี กวา่ เป็น “การคร่งึ ดคู ร่งึ ทำ� อยา่ งอื่น”
(half-watching) เนื่องจากแม่บ้านจะต้องท�ำงานบ้านไปด้วยในขณะที่เธอบริโภคข่าวจากสื่อโทรทัศน์
ดังท่ีกลา่ วมาแล้ววา่ สอื่ โทรทัศนม์ ีคณุ ลักษณะทม่ี ีทง้ั รูปและเสียงจงึ ทำ� ให้เธอสามารถตดิ ตามข้อมูลขา่ วสาร
จากโทรทศั นไ์ ดด้ กี ว่าสื่อประเภทอน่ื ๆ
แบบแผนการบรโิ ภคขา่ วโทรทศั นข์ องแมบ่ า้ นนนั้ สว่ นใหญเ่ รมิ่ ตน้ ทส่ี ามี กลา่ วคอื สามจี ะเปน็ ผนู้ ำ�
ในการบริโภคสื่อของแม่บ้าน เนื่องจากสามีจะเป็นผู้เปิดโทรทัศน์หรือวิทยุในตอนเช้า เพ่ือดูข่าวก่อนไป
ทำ� งาน แมบ่ า้ นกจ็ ะดขู า่ วตามทสี่ ามเี ปดิ ใหด้ เู พราะวา่ แมบ่ า้ นตอ้ งดแู ลเรอ่ื งอาหารเชา้ เสอื้ ผา้ และดแู ลลกู ๆ
ใหไ้ ปโรงเรยี น แบบแผนในการบริโภคขา่ วโทรทศั นข์ องแมบ่ ้านจะเป็นแบบดคู รึ่งทำ� คร่ึง แต่เม่อื หลังจากที่