Page 20 - หลักการประชาสัมพันธ์และโฆษณา
P. 20
2-10 หลกั การประชาสัมพนั ธแ์ ละโฆษณา
ไม่ใช่เพ่ือใหก้ ารสอ่ื สารครง้ั นม้ี ีช่ือเสียงเป็นท่นี ยิ มใหม้ ากท่ีสดุ แต่เปน็ การสร้างลกู คา้ ตลอดชีวติ (lifelong
customers) ท่ีภักดกี ับแบรนด์และองคก์ าร
- การล็อบบี้ (Lobbying) เปลี่ยนเป็นการรณรงค์ทางออนไลน์ (Online Campaign) เดิมทนี น้ั
การลอ็ บบนี้ น้ั ถอื เปน็ รปู แบบหนงึ่ ของการสอื่ สารเพอื่ การรณรงคเ์ พอื่ ขบั เคลอื่ นประเดน็ ใหเ้ กดิ ผลทางสงั คม
หรือการเมือง ซ่ึงมักจะต้องใช้องค์การตัวแทนประชาสัมพันธ์หรือโฆษณาขนาดใหญ่วางแผน และต้องใช้
งบประมาณจ�ำนวนมาก แต่ในปัจจุบันนี้ ผู้ใช้ส่ือทั่วไปก็สามารถท่ีจะสร้างแผนการรณรงค์ทางสังคมได้
เนื่องจากมีเวบ็ ไซต์หลายแหง่ ทเี่ ปิดให้สร้างโครงการไดเ้ อง เชน่ Change.org หรอื Gofundme.com
- การรับรู้องค์การ (Corporate Perception) เปล่ียนเป็นบรรษัทภิบาล และความย่ังยืนและ
โปร่งใสขององค์การ (Corporate Governance/Sustainability and Transparency) แมว้ า่ การรบั ร้ขู อง
องคก์ ารนนั้ ยงั เปน็ เรอ่ื งสำ� คญั ในยคุ ดจิ ทิ ลั แตส่ ง่ิ ทเี่ ขา้ มามบี ทบาทตอ่ การรบั รขู้ องผบู้ รโิ ภคมากขนึ้ กค็ อื การ
ดำ� เนินงานของบรษิ ัทที่มคี ณุ ธรรม หรือเรียกวา่ บรรษทั ภบิ าล เนื่องจากเหตกุ ารณ์ออื้ ฉาวหลายเหตุการณ์
ทเ่ี กดิ ขนึ้ กบั องคก์ ารขนาดใหญใ่ นชว่ งเวลาทผ่ี า่ นมา ซง่ึ ผบู้ รโิ ภครวมถงึ ผถู้ อื หนุ้ จะเชอื่ ถอื วา่ มบี รรษทั ภบิ าลได้
จากการส่ือสารที่แสดงให้เห็นถึงการด�ำเนินงานท่ีโปร่งใสและน�ำไปสู่ความยั่งยืน ซึ่งเป็นส่ิงท่ีเป็นกระแสที่
เกดิ ขึน้ ทั่วโลก
กิจกรรม 2.1.1
1. ความเชือ่ ถือในส่อื โฆษณาในยคุ ดิจทิ ลั มกี ารเปลี่ยนแปลงอยา่ งไร
2. จงยกตัวอยา่ งแนวคิดทเ่ี ปลีย่ นแปลงในยุคดิจิทลั มา 2-3 ตัวอย่าง
แนวตอบกิจกรรม 2.1.1
1. ความเชอ่ื ถอื ในสอื่ โฆษณาในยคุ ดจิ ทิ ลั มกี ารเปลยี่ นแปลง คอื สอ่ื โฆษณาหลกั ไดร้ บั ความเชอื่ ถอื
น้อยลง โดยถูกแทนที่ดว้ ยสอ่ื ดิจิทลั และส่ือบุคคล
2. แนวคดิ ทเ่ี ปลย่ี นแปลงในยคุ ดจิ ทิ ลั เชน่ การสอื่ สารกบั มวลชนเปลยี่ นเปน็ การสอ่ื สารเฉพาะกลมุ่
การโฆษณาในสื่อดัง้ เดมิ เปลย่ี นเป็นการแชร์เนอื้ หาตอ่ ๆ กนั ไป การใหข้ ้อมูลเปลีย่ นเป็นการมีปฏิสมั พนั ธ์