Page 102 - ภาษาและทักษะเพื่อการสื่อสาร
P. 102
15-92 ภาษาและทกั ษะเพอ่ื การสอ่ื สาร
2. การแปลบทภาพยนตร์
ภาพยนตร์ต่างประเทศท่ีฉายในโรงและในจอโทรทัศน์ ถ้าแปลบทเป็นภาษาไทยหรือพากษ์ไทย
แล้วจะอ�ำนวยประโยชน์และความบันเทิงให้แกผ่ ้ชู มเป็นอันมาก
บทภาพยนตรท์ น่ี ำ� มาแปลจะถา่ ยทอดเปน็ บทเขยี นกอ่ น นอกจากบางครง้ั ไมม่ บี ทเขยี น ผแู้ ปลตอ้ ง
ดูและฟังจากฟิล์ม จุดประสงคห์ ลกั ของบทภาพยนตรแ์ ปลมี 2 ประการคือ
1) นำ� บทแปลไปพากษห์ รือจดั เสียงในฟลิ ์ม ผู้ฟังจะได้ยนิ เสยี งนักแสดงพูดภาษาไทย
2) น�ำบทแปลไปเขียนค�ำบรรยายในฟิล์มดังเดิม ผู้ฟังจะได้ยินเสียงเดิมของนักแสดงและได้เห็น
ค�ำแปลพร้อมกนั
บทแปลท่ีน�ำไปใช้ประโยชน์ตามข้อ 1 ผู้แปลต้องระวังความจ�ำกัดตามจังหวะขยับริมฝีปากของ
ผู้แสดงเทา่ ท่ปี รากฏให้เห็นในภาพ ขอ้ ดสี ำ� หรบั ข้อ 2 ก็คือหากมขี ้อผดิ พลาดกจ็ ะจบั ไมไ่ ดไ้ ล่ไม่ทนั
ตามขอ้ 2 บทแปลจะถกู จำ� กดั ดว้ ยเนอ้ื ทใี่ นฟลิ ม์ ใหพ้ อเหมาะกบั กรอบภาพและขนาดของตวั อกั ษร
ที่ใช้พิมพ์ค�ำบรรยาย ข้อจ�ำกัดอีกอย่างหน่ึงคือ ผู้ชมภาพยนตร์สามารถฝึกเเปลได้จากการเปรียบเทียบ
ค�ำพดู ของนักแสดงกับค�ำแปล กรณีนผ้ี ูเ้ เปลไม่มที างหนรี อดไปไดเ้ ลย
บทภาพยนตร์มีลักษณะเหมือนบทละครคือ ประกอบด้วยค�ำสนทนาเป็นส่วนใหญ่ แต่ผู้แสดง
ภาพยนตร์จะมีจ�ำนวนหลากหลายกว่า แต่ละคนใช้ค�ำพูดต่างกันตามอุปนิสัยใจคอและพูดจารวดเร็วต่าง
จากผู้แสดงละครซึ่งจะพูดช้าและเน้นยํ้าให้ชัดเจน บางคร้ังผู้แสดงอีกคนหน่ึงจะช่วยเน้นยํ้าด้วยการถาม
ซ้ําบ้าง ทวนค�ำถามบ้าง และอุทานบ้าง นอกจากน้ีการแสดงภาพยนตร์จะมีความเคลื่อนไหวเร็วกว่า
การแสดงละครมาก บางทพี ดู ไปเคลอ่ื นไหวไป มผี ลตอ่ การแปลบทซง่ึ ตอ้ งแปลใหร้ วดเรว็ และทนั กบั บทบาท
ของการแสดง
บทภาพยนตรเ์ ปน็ ขอ้ เขยี นทมี่ จี ดุ ประสงคน์ ำ� ไปเเสดงและพดู ตามการสบั เปลยี่ นฉากทร่ี วดเรว็ เพอ่ื
ความฉบั ไว โดยรกั ษาความตอ่ เนือ่ งของภาพและเน้ือเรื่องไวใ้ ห้มเี อกภาพ ผู้แปลต้องตระหนกั ในลักษณะ
เฉพาะของบทภาพยนตร์ เพ่ือปอ้ งกันมใิ หม้ คี วามเข้าใจผดิ จนเกิดการแปลผิด
วิธีแปลบทภาพยนตร์มีขั้นตอนด�ำเนินการเช่นเดียวกับการแปลบทละครและการ์ตูน ซ่ึงต้องอ่าน
ทง้ั ข้อความ ภาพและฉากพรอ้ มๆ กันโดยมีสัมพันธภาพตอ่ กัน
ตัวอย่างการแปลบทภาพยนตร์
บทภาพยนตร์ที่น�ำมาใช้ศึกษานี้ตัดตอนจากเร่ือง “A Family Upside Down” เขียนโดย
Gerald Dipego ส�ำหรบั NBC Television Network เมอื่ ค.ศ. 1978 น�ำมาจากหนังสอื เรือ่ ง “Writing
for Film and Television” เขยี นโดย Stewart Broafieldy (1981, น. 83-87)