Page 65 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 65
การพัฒนาเครื่องมือมาตรฐานทางการแนะแนว 2-9
เร่ืองท่ี 2.1.2 ขอบข่ายข องการพฒั นาเครื่องม อื มาตรฐาน
ทางการแนะแนว
ขอบขา่ ยข องก ารพ ฒั นาเครือ่ งม อื ม าตรฐานท างการแ นะแนวแ บง่ เปน็ ข อบขา่ ยเนือ้ หาท างการแ นะแนว
ด้านการศึกษา ด้านอาชีพ ด้านส่วนตัวและสังคม และเครื่องมือมาตรฐานทางการแนะแนวด้านการศึกษา
ด้านอาชีพ ด้านส่วนตัวและสังคมที่จะใช้วัด โดยขอบข่ายด้านเนื้อหานั้นต้องพัฒนาให้ครอบคลุมทั้งด้าน
พุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย ให้เหมาะสมกับบุคคลแต่ละวัยทั้งเด็ก วัยรุ่น และผู้ใหญ่ โดยมีสาระ
สำคัญ ดังนี้
1. ขอบขา่ ยของก ารพ ัฒนาเครอื่ งม ือมาตรฐานทางการแนะแนวด้านการศกึ ษา
ขอบข่ายการพัฒนาเครื่องมือมาตรฐานทางการแนะแนวด้านการศึกษาแบ่งเป็นขอบข่ายเนื้อหา
ทางการแนะแนวด้านการศ ึกษา และเครื่องมือมาตรฐานท างการแ นะแนวด้านการศ ึกษาท ี่ใช้วัด ดังนี้
1.1 ขอบข่ายเน้ือหาทางการแนะแนวด้านการศึกษา แบ่งเป็นขอบข่ายเนื้อหาด้านพุทธิพิสัย ด้าน
จิตพิสัย และด้านทักษะพ ิสัย
1.1.1 ขอบข่ายเนื้อหาทางการแนะแนวด้านการศึกษาท่ีเน้นพุทธิพิสัย ได้แก่ เนื้อหาต่างๆ
ต่อไปน คี้ ือ ความพ ร้อมท างการเรียน ความส ามารถด ้านค วามร คู้ วามจ ำ ความเขา้ ใจ การนำไปใช้ การว เิ คราะห์
การส ังเคราะห์ และการประเมินค่า ความสามารถในก ารเรียนข องบุคคลแต่ละวัยทั้งเด็ก วัยรุ่น และผ ู้ใหญ่
1.1.2 ขอบขา่ ยเนอื้ หาท างการแ นะแนวด า้ นก ารศ กึ ษาท เี่ นน้ จ ติ พ สิ ยั ไดแ้ ก่ เนือ้ หาต า่ งๆ ตอ่ ไปน ี้
คือ ความส นใจในก ารเรียน เจตคติต่อการเรียน ค่านิยมในการศ ึกษาเล่าเรียน แรงจูงใจในการเรียน นิสัยใน
การเรียน ความว ิตกกังวลในก ารเรียน ความเครียดในการศ ึกษาเล่าเรียนของเด็ก วัยรุ่น และผ ู้ใหญ่
1.1.3 ขอบข่ายเน้ือหาทางการแนะแนวด้านการศึกษาที่เน้นทักษะพิสัย ได้แก่ พฤติกรรม
การเรียน ยุทธวิธีการเรียนและการศึกษา การบริหารเวลาในการเรียน การปรับตัวทางการเรียน การเผชิญ
ปัญหาในการเรียน การแก้ปัญหาการเรียน การเลือกแผนการเรียน การวางแผนการเรียนและการตัดสินใจ
เลือกอาชีพของเด็ก วัยรุ่น และผู้ใหญ่
1.2 เครือ่ งม ือมาตรฐานท างการแ นะแนวด า้ นก ารศึกษาทีใ่ ชว้ ัด แบ่งเป็น
1.2.1 เคร่อื งมอื ม าตรฐานท างการแนะแนวดา้ นการศ ึกษาทเี่นน้ พทุ ธิพิสัย ที่สำคัญๆ เช่น
1) แบบท ดสอบค วามส ามารถท างการเรยี น เชน่ แบบท ดสอบศ พั ทร์ ปู ภาพพ บี อดี้ (Pea-
body Picture Vocabulary Test – III: PPVT-III) สร้างโดย ลอยด์ เอ็ม ดัน และล ีโอทา เอ็ม ดัน (Lloyd
M. Dunn and Leota M. Dunn) เมื่อ ค.ศ. 1997 เป็นแบบท ดสอบม าตรฐานท ีใ่ชว้ ัดค วามส ามารถท างภ าษา
ลิขสทิ ธิ์ของมหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช