Page 66 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 66

2-10 การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา

(Verbal Ability) เป็น​แบบ​ทดสอบ​ราย​บุคคล ไม่​จำกัดเ​วลา แบบท​ ดสอบน​ ี้​ประกอบด​ ้วย​แผ่น​รูปภาพ 204
แผ่น แต่ละแ​ ผ่นม​ ี​รูปภาพ 4 รูป จัด​รูปภาพ​เหล่าน​ ี้​เป็น 17 ชุด ชุดล​ ะ 12 ข้อ เรียงล​ ำดับภ​ าพจ​ าก​ง่าย​ไปย​ าก
ใช้ท​ ดสอบ​กับผ​ ู้รับก​ ารท​ ดสอบ​ตั้งแต่​อายุ 2 ขวบ 6 เดือน ถึง​อายุ 90 ปี 6 เดือน ใช้​เวลาท​ ดสอบโ​ดยเ​ฉลี่ย
11-12 นาที เพราะผ​ ู้รับก​ ารท​ ดสอบ​แต่ละค​ น​ส่วน​มากจ​ ะท​ ำ​แบบท​ ดสอบ​เพียง 5 ชุด หรือ 60 ภาพ โดย​ผู้รับ​
การท​ ดสอบแ​ ต่ละค​ น​จะเ​ริ่มต​ ้น​ทำ​แบบ​ทดสอบ​ตามร​ ะดับอ​ ายุข​ องต​ นเอง เช่น ผู้รับ​การท​ ดสอบท​ ี่อ​ ายุ 8 ขวบ
ก็จ​ ะ​เริ่มท​ ำ​แบบท​ ดสอบข​ ้อ​ที่ 73 เป็นต้น​ไป และ​จะ​ยุติก​ าร​ทำ​แบบท​ ดสอบเ​มื่อ​มีก​ ารต​ อบผ​ ิด​เกิด​ขึ้นติดต่อ​กัน​
ตามจ​ ำนวนข​ ้อท​ ีก่​ ำหนดห​ รือไ​ลจ่​ ากก​ ารต​ อบผ​ ิดต​ ิดต่อก​ ันลงม​ าต​ ามจ​ ำนวนข​ ้อท​ ีก่​ ำหนดจ​ นถึงร​ ะดับต​ อบไ​ดถ้​ ูก​
ต้อง แล้วน​ ำค​ ะแนนด​ ิบท​ ี่ไ​ด้ม​ าแ​ ปลงเ​ป็นค​ ะแนนม​ าตรฐานเ​พื่อจ​ ะไ​ด้ท​ ราบว​ ่าผ​ ู้รับก​ ารท​ ดสอบม​ ีค​ วามส​ ามารถ​
ระดับ​ใด (Dunn and Dunn, 1997: x-2)

                 ข้อดี​ของ​แบบ​ทดสอบ​ศัพท์​รูปภาพ​พี​บอดี้​คือ เป็น​แบบ​ทดสอบ​ที่​ใช้​รูปภาพ ผู้รับ​การ​
ทดสอบ​ไม่​ต้อง​อ่าน ผู้​ทดสอบ​จะ​เป็นค​ นอ​ ่านค​ ำถาม แล้ว​ให้ผ​ ู้รับ​การ​ทดสอบ​ชี้​ภาพ ตัวอย่าง​เช่น ใน​แผ่น​ภาพ​
ที่​ใช้​ฝึก​ก่อน​ทำการ​ทดสอบ (Training Plate) จะ​มี​รูปภาพ 4 รูป คือ ภาพ​ช้อน ลูก​บอล กล้วย และ​สุนัข
เมื่อ​ผู้​ทดสอบพ​ ูดก​ ับผ​ ู้รับก​ าร​ทดสอบ​ว่า “ดูท​ ี่​แผ่นภ​ าพน​ ี้ จะเ​ห็น​ว่าม​ ี​รูป​ต่างๆ 4 รูป ขอ​ให้​นักเรียน​ชี้​รูป​สุนัข​
ว่า​อยู่​ตรง​ไหน” แล้ว​ผู้​ทดสอบ​ก็​บันทึก​คำ​ตอบ​ตาม​ที่​ผู้รับ​การ​ทดสอบ​ชี้​รู​ปนั้นๆ เมื่อ​ผู้รับ​การ​ทดสอบ​เข้าใจ
​คำ​สั่ง​แล้ว จึง​เริ่ม​ดำเนิน​การ​ทดสอบ​ตาม​ระดับ​อายุข​ อง​ผู้รับ​การท​ ดสอบ

                 นอกจาก​นี้ แบบ​ทดสอบ​ศัพท์​รูปภาพ​พี​บอดี้ ยัง​เป็น​แบบ​ทดสอบ​ที่​มี​ประโยชน์​ใน​การ​
ตรวจส​ อบว​ ่า ผู้รับก​ ารท​ ดสอบม​ คี​ วามส​ ามารถท​ างภ​ าษาม​ ากน​ ้อยเ​พยี งใ​ด และใ​ชท​้ ดสอบไ​ดท้​ ั้งบ​ ุคคลท​ ีม่​ คี​ วาม​
เป็น​อัจฉริยะแ​ ละ​ผู้ท​ ี่​มีค​ วาม​ล่าช้า​ทางส​ มอง

                 2)	แบบ​ทดสอบ​ผล​สัมฤทธ์ิ (Achievement Test) แบบ​ทดสอบ​ผล​สัมฤทธิ์​ที่​นำ​มา​
ใช้​ประกอบ​การ​แนะแนว​ด้าน​การ​เรียน​ที่​สำคัญๆ คือ แบบ​ทดสอบ​ผล​สัมฤทธิ์​ทางการ​เรียน (Scholastic
Achievement Test) ซึ่ง​ส่วนม​ ากจ​ ะเ​ป็นแ​ บบท​ ดสอบว​ ัดผลส​ ัมฤทธิ์เ​ฉพาะว​ ิชา และ​แบบท​ ดสอบผ​ ลส​ ัมฤทธิ​์
ทางการศ​ ึกษา (Educational Achievement Test) ที่ว​ ัด​เนื้อ​หาท​ ั่วๆ ไป​ด้านก​ าร​ศึกษา เช่น วัดผล​สัมฤทธิ์​
ด้าน​คำ​ศัพท์ การ​อ่าน การ​สะกด​คำ และ​เลขคณิต โดย​มี​ระดับ​ความ​ยาก​ง่าย​ตั้งแต่​น้อย​ไป​หา​มาก ซึ่ง​แบบ​
ทดสอบเ​หลา่ น​ มี​้ ค​ี วามส​ ำคญั อ​ ยา่ งย​ ิง่ ท​ ผี​่ ใู​้ หบ​้ รกิ ารแ​ นะแนวด​ า้ นก​ ารศ​ กึ ษาค​ วรน​ ำไ​ปใ​ชก​้ อ่ นท​ จี​่ ะใ​หก้ ารแ​ นะแนว​
ดา้ นก​ ารศ​ กึ ษา แตอ​่ ปุ สรรคข​ องผ​ ใู​้ หบ​้ รกิ ารแ​ นะแนวด​ า้ นก​ ารศ​ กึ ษาใ​นป​ ระเทศไทย คอื ไมม่ เ​ี ครือ่ งม​ อื ม​ าตรฐาน​
ทางการ​แนะแนว​ด้าน​การ​ศึกษา​โดย​เฉพาะ​อย่าง​ยิ่ง ไม่มี​แบบ​ทดสอบ​มาตรฐาน​วัดผล​สัมฤทธิ์​ทางการ​เรียน
และ​ไม่มี​แบบ​ทดสอบ​มาตรฐาน​วัดผล​สัมฤทธิ์​ทางการ​ศึกษา อย่างไร​ก็ตาม​ใน​อดีต​ประมาณ 20 ปี​ที่​ผ่าน​มา
กระทรวง​ศึกษาธิการเ​คย​สร้าง​แบบ​ทดสอบ​มาตรฐาน​วัดผล​สัมฤทธิ์​ทางการเ​รียน​โดย​วัด​สัมฤ​ทธิ​ผล​รวม​ของ​
ทุกๆ วิชา สำหรับ​นักเรียน​ระดับ​มัธยมศึกษา​ตอน​ปลาย แต่​ภาย​หลัง​การ​ปรับปรุง​หลักสูตร​ทั้ง​ระดับ​ประถม​
ศึกษา​และ​ระดับ​มัธยมศึกษา​ครั้ง​ล่าสุด​แล้ว​ก็​ไม่​ปรากฏ​ว่า​มี​เครื่อง​มือ​มาตรฐาน​ใด​ที่​เกี่ยว​กับ​แบบ​ทดสอบ​
มาตรฐาน​ที่​ใช้​วัดผล​สัมฤทธิ์​ทางการ​เรียน​หรือ​ทางการ​ศึกษา​เพียง​แต่ แต่ละ​โรงเรียน​หรือ​กลุ่ม​โรงเรียน​สร้าง​
แบบ​ทดส​ อบว​ ัดส​ ัมฤ​ทธิ​ผล​รายวิชา (Course Oriented Achievement Test) ไม่​ได้​สร้าง​หรือ​พัฒนา​แบบ​
ทดสอบม​ าตร​ฐาน​วัด​สัมฤ​ทธิผ​ ล​รวม​ของท​ ุกๆ รายวิชา (Broadly-Oriented Achievement Test)

                           ลขิ สทิ ธข์ิ องมหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71