Page 188 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 188

5-8 องค์การและการจัดการ และการจัดการทรัพยากรมนุษย์

       ภาวะผ​ ู้นำ​คือก​ ระบวนการ​ใช้อ​ ิทธิพล​ที่​ผู้นำ​กระทำต​ ่อ​กลุ่ม เพื่อ​ให้ง​ านข​ อง​กลุ่ม​บรรลุเ​ป้าห​ มายท​ ี่​วาง​ไว้4
       ภาวะผ​ ู้นำ หมาย​ถึง “ความส​ ัมพันธ์ส​ ่วนบ​ ุคคล ซึ่ง​มี​บุคคล​หนึ่งค​ อย​อำ​นวยก​ ารป​ ระสานง​ าน และค​ วบคุม​คน​
อื่นๆ ในก​ าร​ปฏิบัติง​ าน​ร่วมก​ ัน”5
       “ความ​เป็น​ผู้นำเ​ป็นก​ระ​บวน​การ​ของก​ ารส​ ั่ง​การแ​ ละ​การ​ใช้อ​ ิทธิพล​ต่อ​กิจกรรม​ต่างๆ ของ​สมาชิก​ของ​กลุ่ม”6
       ความเ​ป็นผ​ ู้นำ หมายถ​ ึง “ความส​ ัมพันธร์​ ะหว่างบ​ ุคคล 2 คน หรือม​ ากกว่า 2 คน ทีบ่​ ุคคลห​ นึ่ง (ในจ​ ำนวนน​ ั้น)
พยายาม​ที่​จะ​มี​อิทธิพล​ต่ออ​ ีกบ​ ุคคล​หนึ่ง (หรือต​ ่อ​กลุ่ม) เพื่อ​ให้​เป้าห​ มายห​ รือ​วัตถุประสงค์ข​ อง​องค์การ​บรรลุผ​ ล”7
       ภาวะผ​ ู้นำ คือ “ศิลปะห​ รือค​ วามส​ ามารถข​ องบ​ ุคคลห​ นึ่งท​ ีจ่​ ะจ​ ูงใจห​ รือใ​ชอ้​ ิทธิพลต​ ่อบ​ ุคคลอ​ ื่น ผูร้​ ่วมง​ าน หรือ​
ผู้ใ​ต้บ​ ังคับ​บัญชา ในส​ ถานการณ์ต​ ่างๆ เพื่อป​ ฏิบัติแ​ ละอ​ ำนวยก​ ารโ​ดยใ​ช้ก​ ระบวนการส​ ื่อค​ วามห​ มายห​ รือก​ ารต​ ิดต่อก​ ัน​
และ​กันใ​ห้​ร่วมใจก​ ับต​ น ดำเนิน​การ​จนก​ ระทั่งบ​ รรลุ​ผล​สำเร็จต​ ามว​ ัตถุประสงค์​และ​เป้าห​ มายท​ ี่ก​ ำหนด​ไว้”8
       จาก​ความ​หมาย​ข้าง​ต้น​จะ​เห็นไ​ด้​ว่า ภาวะผ​ ู้นำ​หรือ​ความเ​ป็นผ​ ู้นำ​มี​องค์​ประกอบส​ ำคัญ 3 ประการ คือ

            2.1.1 เป็น​ความ​สัมพันธ์ร​ ะหว่างบ​ ุคคล
            2.1.2 บุคคล​หนึ่งม​ ี​อิทธิพลเ​หนืออ​ ีก​คนห​ นึ่งห​ รือ​คน​อื่นๆ
            2.1.3 มี​จุดม​ ุ่ง​หมาย​เพื่อบ​ รรลุ​วัตถุประสงค์​ที่​กำหนดไ​ว้
       ดัง​นั้น จึงส​ รุป​ได้ว​ ่า ภาวะ​ผู้นำ​หรือ​ความ​เป็นผ​ ู้นำ หมายถ​ ึง ความ​สัมพันธ์​ระหว่าง​บุคคล​ในล​ ักษณะท​ ี่บ​ ุคคล​
หนึ่ง​มีอ​ ิทธิพล​เหนือ​คนอ​ ื่น​โดย​มีจ​ ุด​มุ่ง​หมาย​เพื่อ​บรรลุ​วัตถุประสงค์​ที่​กำหนด​ไว้
       2.2 ความ​สำคญั ​ของ​ภาวะผ​ ้นู ำ ที่​ได้ก​ ล่าว​ไปแ​ ล้วเ​ป็นค​ วามส​ ำคัญ​ที่​เกิด​จากต​ ัวผู้​นำเ​อง​ส่วน​ความส​ ำคัญ​ของ​
ภาวะ​ผู้นำ​นั้นเ​ป็นพ​ ฤติกรรม​หรือเ​ป็นส​ ิ่ง​ที่ผ​ ู้นำไ​ด้ใ​ช้​หรือ​ได้​แสดงออก​ไป ซึ่ง​ก็​เป็นส​ ิ่ง​ที่​สำคัญม​ าก​เช่น​กัน​คือ
            2.2.1 ช่วย​ดึงค​ วามร​ ู้ค​ วามส​ ามารถ​ในต​ ัวผู้บ​ ริหารห​ รือผ​ ู้นำอ​ อกม​ าใ​ช้ ความส​ ามารถจ​ ะม​ ีอ​ ยู่ใ​นต​ ัวบ​ ุคคล​
แต่ละ​คน​แต่​การท​ ี่จ​ ะแ​ สดงออก​หรือน​ ำ​ความส​ ามารถน​ ั้น​ออก​มา​ใช้​ให้​เกิด​ประโยชน์ไ​ด้​หรือ​ไม่​ขึ้น​อยู่​กับภ​ าวะ​ผู้นำ​ของ​
แต่ละ​คน
            2.2.2 ช่วย​ดึง​ความ​รู้​ความ​สามารถ​ใน​ตัวผู้​ใต้​บังคับ​บัญชา​ออก​มา​ใช้ ผู้​ร่วม​งาน​หรือ​ผู้​ใต้​บังคับ​บัญชา​
แต่ละค​ นต​ ่างม​ คี​ วามถ​ นัด ความเ​ชี่ยวชาญ หรือค​ วามส​ ามารถใ​นด​ ้านต​ ่างๆ แตกต​ ่างก​ ันไ​ป ก​ ารท​ ีจ่​ ะส​ ั่งใ​ชห​้ รือม​ อบห​ มาย​
ให้ค​ นใ​ด​รับ​งาน​ใด​ไปป​ ฏิบัติไ​ด้เ​หมาะ​สมเ​พียงไ​ร และเ​มื่อ​สั่ง​การห​ รือ​มอบห​ มาย​ไปแ​ ล้วผ​ ู้รับ​มอบจ​ ะ​มี​ความก​ ล้า​ใน​การ​
ดำเนินก​ ารเ​พียง​ไร จะด​ ำเนิน​การไ​ด้ด​ ี​แค่ไ​หน​ก็ข​ ึ้น​อยู่​กับ​ภาวะผ​ ู้นำ​ที่ผ​ ู้​ใต้บ​ ังคับ​บัญชาค​ น​นั้น​ได้​สัมผัส
            2.2.3 ช่วย​สร้าง​การ​ยอมรับ ภาวะผ​ ู้นำจ​ ะ​ทำให้​ผู้​ใต้​บังคับ​บัญชา​และค​ น​ทั่วไปร​ ู้จัก​ผู้นำ​ดีข​ ึ้นว​ ่าเ​ป็นผ​ ู้นำ​
แบบ​ไหน มีค​ วามส​ ามารถ​และ​ความ​รับ​ผิดช​ อบเ​พียงไ​ร ซึ่ง​ก็​จะ​ช่วย​สร้าง​การย​ อมรับ​ในต​ ัวผู้​นำใ​ห้​เกิด​ขึ้น​ได้​อย่าง​ดี

         4 Ralph M.stogdill. “Leadership, Membership and Organization.” Psychological Bulletin. January 1950, p.4.
         5 F.E. Fiedler. “Engineer the Job to Fit the Manager.” Harvard Business Review. Vol.43 No.5 (September-October
1965), p. 118.
         6 อวยช​ ยั ชบา และค​ ณะ “การอ​ ำนวยก​ าร” ใน เอกสารก​ ารส​ อนช​ ดุ ว​ ชิ าค​ วามร​ เู​้ บือ้ งต​ น้ เ​กีย่ วก​ บั ก​ ารบ​ รหิ าร เลม่ 2 หนว่ ย​ที่ 14 มหาวทิ ยาลยั ​
สุโขทัยธ​ ร​รมาธิร​ าช 2524 หน้า 331
         7 John M. Ivancevich., Andrew D. Szilagyi, Jr และ Marc J. Wallace, Jr. อ้างใ​น จุมพล หนิม​พา​นิช “การจ​ ูงใจแ​ ละค​ วามเ​ป็น​
ผู้นำ” ใน เอกสาร​การส​ อนช​ ุด​วิชา​องค์การแ​ ละ​การ​จัดการ มหาวิทยาลัย​สุโขทัย​ธรร​ มาธิ​ราช 2524 หน้า 97
         8 กิตติ ตยัค​คาน​ นท์ “นัก​บริหาร​ทันส​ มัย” หน้า 38

                             ลิขสทิ ธิข์ องมหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช
   183   184   185   186   187   188   189   190   191   192   193