Page 193 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 193
ผู้นำแ ละก ารจ ูงใจ 5-13
2. แนวก ารศ กึ ษาพฤตกิ รรมผ นู้ ำ
เนื่องจากแนวก ารศึกษาค ุณลักษณะผ ู้นำม ีปัญหาบ างป ระการ ทำให้น ักวิชาการในช่วงป ลายทศวรรษที่ 1940
เริ่มเบนค วามส นใจม าศ ึกษาพ ฤติกรรมผ ู้นำ นั่นค ือศ ึกษาด ูว ่าผ ู้นำทำห รือแ สดงพ ฤติกรรมอ ะไรอ อกม าจ ริงๆ แทนที่จ ะ
พยายามค ้นหาค ุณลักษณะภ ายในข องผ ู้นำด ังท ีแ่ นวก ารศ ึกษาค ุณลักษณะเคยท ำไว้ นักว ิชาการในก ลุ่มพ ฤติกรรมผ ู้นำ
พยายามศ ึกษาว ิจัยแ ละร วบรวมข ้อมูลเกี่ยวก ับพ ฤติกรรมข องผ ู้นำในห น่วยง านต ่างๆ โดยม จี ุดม ุ่งห มายส ำคัญเบื้องต้น
2 ประการค ือ (1) พยายามค ้นหาด วู ่าผ ู้นำม พี ฤติกรรมก ีแ่ บบ (Style) และ (2) พฤติกรรมแ บบไหนม ปี ระสิทธิผลด ที ี่สุด
คือท ำให้ผ ูใ้ตบ้ ังคับบ ัญชาเกิดค วามพ อใจแ ละแ สดงผ ลง านท ั้งในด ้านป ริมาณค ุณภาพม ากท ี่สุด13 ทฤษฎตี ่างๆ ในก ลุ่ม
นี้ต ่างมีจ ุดมุ่งหมายท ั้งส องข ้อด ังกล่าวร วมอยู่ด้วย
แนวก ารศ กึ ษาน ปี้ ระกอบด ว้ ยท ฤษฎหี ลายท ฤษฎดี ว้ ยก นั ผเู้ ขยี นข อน ำก ลา่ วเพยี ง 3 ทฤษฎที มี่ เี นือ้ หาเกีย่ วขอ้ ง
กันเพื่อประโยชน์ต ่อก ารทำความเข้าใจในเบื้องต ้น
2.1 การศกึ ษาข องโอไฮโอสเตท (Ohio State University Studies): ทฤษฎคี วามเป็นผู้นำ 2 มิติ ในราวปี ค.ศ.
1945 กลุ่มนักวิจัยที่มหาวิทยาลัยโอไฮโอสเตทในมลรัฐโอไฮโอสหรัฐอเมริกาภายใต้การนำของฟลิสซ์แมน สตอกดิล
และชาร์ทเทิล (Fleishman Stogdill and Shartle) ได้เริ่มต ้นทำการศ ึกษาพ ฤติกรรมผู้นำโดยใช้แบบสอบถาม คณะ
นักว ิจัยได้ส ร้างแบบสอบถามขึ้นส องช ุด ชุดห นึ่งใช้ส อบถามความค ิดเห็นข องผู้บริหารเกี่ยวก ับพฤติกรรมผู้นำ อีกชุด
หนึ่งใช้ตรวจสอบพฤติกรรมผู้นำตามความคิดเห็นของผู้ร่วมงานและผู้ใต้บังคับบัญชา ผลการศึกษาพอสรุปโดยย่อ
ได้ด ังนี้
ก. พบแ บบพ ฤตกิ รรมผ นู้ ำพ นื้ ฐ าน 2 แบบ ค อื แบบเนน้ โครงสรา้ งก ารท ำงาน (initiating structure) และ
แบบเน้นมิตรสัมพนั ธ์ (consideration) กล่าวค ือค ณะนักว ิจัยได้พ บแบบพ ฤติกรรมผ ู้นำท ี่เด่นชัด 2 แบบ ค ือ แบบเน้น
โครงสร้างการทำงานหรืออ าจเรียกกว่าแบบม ุ่งงานและแบบเน้นม ิตรส ัมพันธ์หรืออ าจเรียกว่าแบบม ุ่งคน
พฤตกิ รรมผนู้ ำแ บบมุ่งง าน หมายถึง พฤติกรรมผ ู้นำที่ก ำหนดให้ผู้ร่วมง านแ ละผ ู้ใต้บังคับบัญชา
ต้องปฏิบัติตามระเบียบแบบแผน วิธีการทำงานและเป้าหมายที่ผู้นำกำหนดไว้ ผู้นำจะกำหนดมาตรฐานการทำงานไว้
สูงแ ละเน้นค วามส ำเร็จข องง านมากกว่าความรู้สึกห รือค วามต ้องการข องผ ู้ปฏิบัติงาน ตัวอย่างเช่น ผู้นำท ี่ช อบตอกย้ำ
ให้ผ ู้ปฏิบัติง านทำงานให้ม าก เสียสละให้ห น่วยงานอ ย่างเต็มท ี่ แต่ก ลับละเลยไม่สนใจขวัญกำลังใจและสวัสดิการของ
ผู้ปฏิบัติง าน
พฤติกรรมผู้นำแบบมุ่งคน หมายถึง พฤติกรรมของผู้นำในด้านเอาใจใส่ดูแลทุกข์สุขและสร้าง
ความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานและผู้ใต้บังคับบัญชา ผู้นำเน้นในด้านขวัญกำลังใจ ความรู้สึกและความต้องการของ
ผู้ร ่วมง านและผ ู้ใต้บังคับบัญชาม ากกว่าเน้นให้พ าเขาท ำงานให้สำเร็จม ากๆ ตัวอย่างเช่น ผู้นำที่ร ับฟ ังความค ิดเห็น รับ
ปรึกษาป ัญหาทุกข์ร ้อนและเอาใจใส่ด ูแลขวัญก ำลังใจและสวัสดิการต่างๆ ของผู้ใต้บังคับบัญชา
ข. พฤตกิ รรมผ นู้ ำท ง้ั 2 แบบเปน็ ม ติ ิ 2 ทแี่ ยกอ อกจ ากก นั อ สิ ระ (two-dimensional view) ขออ ธิบายโดย
ใช้ภาพประกอบคือ ถ้าเอาพฤติกรรมสองไปวาดลงบนกราฟแล้ว พฤติกรรมแบบหนึ่ง (แบบมุ่งงาน) จะอยู่บนแกน
X พฤติกรรมแบบหนึ่ง (แบบมุ่งคน) จะอยู่บ นแกน Y คือแยกก ันอ ยู่คนละแกนแบบอิสระแทนที่จะอ ยู่แกนเดียวกัน
ดังแสดงไว้ในภาพท ี่ 5.1
13 Arthur G. Jago. “Leadership: Perspectives in Theory and Research.” p. 319.
ลิขสิทธิ์ของมหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช