Page 195 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 195

ผู้นำ​และ​การจ​ ูงใจ 5-15

เวลา​ต่อ​มา​พบ​ว่า​ใน​บาง​สถานการณ์​พฤติกรรม​ผู้นำ​แบบ​มุ่ง​งาน​ก็​ทำให้​ผลผลิต​ของ​กลุ่ม​สูง​ขึ้น​และ​ใน​บาง​สถานการณ์​
พฤติกรรมม​ ุ่ง​คน​ก็​ให้​ผลผลิตส​ ูง​ขึ้น สถิติก​ ารข​ าด​งานแ​ ละล​ า​ออก​ลด​น้อยล​ ง​เช่น​เดียวกัน14 ดัง​นั้น​ใน​เวลา​ต่อ​มา​คณะ​
ผู้ว​ ิจัย​จึงส​ รุป​ว่า​ไม่มีพ​ ฤติกรรมผ​ ู้นำแ​ บบ​ใดม​ ีป​ ระสิทธิผล​ดี​ที่สุด​ใน​ทุกส​ ถานการณ์

       2.2 	การศ​ กึ ษาข​ องม​ ชิ ิแกน (The Michigan University Studies): ทฤษฎ​คี วาม​เปน็ ผ​ ูน้ ำม​ ิติ​เดียว ขณะ​ที่​กลุ่ม​
นัก​วิจัย​จาก​มหา​วิทยา​ลัย​โอไฮโอ​ส​เต​ทกำ​ลัง​ทำการ​ศึกษา​อยู่​นั้น ใน​เวลา​ไล่เลี่ย​กัน​นั่นเอง ​กล่าวคือ​ใน​ปี 1947 คณะ​
นัก​วิจัย​จาก​มหาวิทยาลัย​มิชิแกน​ใน​มลรัฐ​มิชิแกน​ภาย​ใต้​การ​นำ​ของ​เรน​ซิส ลิ​เคิท (Rensls Likert) ก็ได้​เริ่ม​ทำการ​
ศึกษา​พฤติกรรม​ผู้นำ​เช่น​เดียวกัน​คณะ​ผู้​วิจัย​ได้​ทำการ​เก็บ​ข้อมูล​โดย​สร้าง​แบบสอบถาม​ให้​ผู้​บริหาร​ตอบ​และ​ทำการ​
สัมภาษณ์​รายล​ ะเอียด​อีกท​ ี​หนึ่ง​ผลก​ าร​ศึกษาพ​ อส​ รุป​ได้​ดังนี้

            ก. พบแ​ บบพ​ ฤตกิ รรมผ​ นู้ ำพ​ นื้ ฐ​ าน 2 แบบ เชน่ เ​ดยี วกนั โดยพ​ ฤตกิ รรมผ​ นู้ ำพ​ น้ื ฐ​ านส​ องแ​ บบท​ ก​่ี ลมุ่ น​ พ​้ี บ​
มล​ี กั ษณะค​ ลา้ ยๆ กบั พ​ ฤตกิ รรมผ​ นู้ ำส​ องแ​ บบข​ องก​ ลมุ่ แ​ รกเ​พียงแ​ ตม่​ ีชื่อเ​รียกแ​ ตกต​ ่างก​ ัน กล่าวค​ ือพ​ ฤติกรรมผ​ ู้นำแ​ บบ​
มุ่งง​ านน​ ั้น กลุ่มม​ ิชิแกนเ​รียกว​ ่า “แบบม​ ุ่งต​ ัวง​ าน” (job-centered) ซึ่งห​ มายถ​ ึงพ​ ฤติกรรมข​ องผ​ ู้นำท​ ีเ่​น้นก​ ารท​ ำงานแ​ ละ​
ความส​ ำเรจ็ ข​ องง​ านเ​ปน็ ห​ ลกั ผูน้ ำจ​ ะไ​มค​่ อ่ ยค​ ำนงึ ถ​ งึ ค​ วามร​ ูส้ กึ ห​ รอื ส​ ภาพจ​ ติ ใจข​ องผ​ ปู​้ ฏบิ ตั ง​ิ านม​ ากน​ กั สว่ นพ​ ฤตกิ รรม​
แบบ​มุ่ง​คน​นั้น กลุ่ม​มิชิแกน​เรียก​ว่า “แบบ​มุ่ง​ตัว​คน” (employee-centered) ซึ่ง​หมาย​ถึง​พฤติกรรม​ผู้นำ​ที่​เน้น​การ​
สร้าง​ความ​สัมพันธ์อ​ ัน​ดี​กับผ​ ู้​ปฏิบัติ​งาน ผู้นำจ​ ะ​คำนึงถ​ ึง​สภาพจ​ ิตใจ​ทุกข์​สุข​และส​ วัสดิการข​ อง​ลูก​น้อง​เป็น​หลัก

            ข. พฤตกิ รรมผ​ นู้ ำท​ ง้ั 2 แบบ เปน็ ม​ ติ เ​ิ ดยี วท​ ไ​ี่ มไ​่ ดแ​้ ยกอ​ อกจ​ ากก​ นั เ​ปน็ อ​ สิ ระ (one-dimentional view) ซึ่ง​
หมายความว​ ่าพ​ ฤติกรรม​มุ่ง​งาน​และ​มุ่ง​คน​อยู่ค​ นละ​ข้างข​ อง​เส้นต​ รงเ​ดียวกัน ดังแสดงไว้ในภาพ​ที่ 5.3

       					 มุ่งค​ น	 				  มุ่งง​ าน

ภาพท​ ่ี 5.3 พฤติกรรมผ​ ้นู ำ 2 แบบ​ท่ีเ​ป็น​มติ ิเ​ดียวไ​ มไ่​ ด​แ้ ยกก​ ัน​อยา่ ง​อสิ ระ (one-dimentional view)

            จุดน​ ี้เ​ป็นข​ ้อแ​ ตกต​ ่างท​ ี่ส​ ำคัญข​ ้อแ​ รกร​ ะหว่าง​กลุ่มม​ ิชิแกน​กับก​ ลุ่มโ​อไฮโอ​สเ​ตท กล่าวค​ ือ พฤติกรรม​มุ่ง​
งานแ​ ละม​ ุ่งค​ นข​ องก​ ลุ่มโ​อไฮโอส​ เ​ตท​ มีค​ วามส​ ัมพันธ์ก​ ับแ​ บบแ​ ยกจ​ ากก​ ันเ​ป็นอ​ ิสระอ​ ยู่ค​ นละแ​ กน แต่พ​ ฤติกรรมม​ ุ่งง​ าน​
และ​มุ่ง​คน​ของ​กลุ่มม​ ิชิแกน​มีค​ วาม​สัมพันธ์​เหมือน​ฝาแฝด​ติดก​ ัน​คือ​ไม่ไ​ด้​แยก​ออก​จากก​ ันอ​ ยู่​คนละ​แกน

            ผลจ​ ากก​ ารท​ ีพ่​ ฤติกรรมม​ ุ่งง​ านแ​ ละม​ ุ่งค​ นต​ ั้งอ​ ยูบ่​ นป​ ลายค​ นละด​ ้านข​ องเ​ส้นต​ รงห​ รือแ​ กนเดียวกันท​ ำให​้
แบบ​พฤติกรรม​ผู้นำ​ของ​กลุ่ม​มิชิแกน​มี 2 แบบ​ใหญ่ๆ เท่านั้น​คือ มุ่ง​งาน​สูง​และ​มุ่ง​คน​ต่ำ กับ​มุ่ง​คน​สูง​และ​มุ่ง​งาน​ต่ำ
ดังแสดงไว้ใน​ภาพท​ ี่ 5.4

					   มุ่งค​ น​สูง				  มุ่ง​งาน​สูง
			 		   และ				           และ
					   มุ่งง​ าน​ต่ำ			  มุ่ง​คน​ต่ำ

				  มุ่งค​ น										  มุ่ง​งาน
       ภาพท​ ี่ 5.4 แบบพ​ ฤตกิ รรม​ผูน้ ำ 2 แบบใ​หญ่ๆ ของก​ ลมุ่ ม​ ิชิแกน

         14 Frank E. Saal and Patrick A. Knight. Industrial/Organizational Psychology: Science & Practice. California: Brooks/
Cole Publishing, 1988, pp. 352-353.; James L. Gibson John M. Ivancevich and James Jr. Organizations: Behavior, Structure,
Processes. Plano: Texas Business Publications, Inc., 1985, p. 369.

        ลขิ สิทธ์ขิ องมหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช
   190   191   192   193   194   195   196   197   198   199   200