Page 196 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 196

5-16 องค์การและการจัดการ และการจัดการทรัพยากรมนุษย์

            จุดน​ ี้​เป็นข​ ้อแ​ ตก​ต่าง​ข้อท​ ี่ส​ องร​ ะหว่างก​ ลุ่ม​มิชิแกน​กับ​กลุ่ม​โอไฮโอ​ส​เตท (โปรดเ​ปรียบเ​ทียบภ​ าพท​ ี่ 5.4
กับ​ภาพ​ที่ 5.2) กล่าว​คือ​ใน​ขณะ​ที่​กลุ่ม​โอไฮโอ​ส​เตท​พบ​แบบ​ผู้นำ 4 แบบ​ใหญ่ๆ กลุ่ม​มิชิแกน​พบ​แบบ​ผู้นำ 2 แบบ​
ใหญ่ๆ แบบ​ผู้นำ​ที่​กลุ่ม​โอไฮโอ​ส​เตท​พบ​แต่​กลุ่ม​มิชิแกน​ไม่​พบ​คือ​ผู้นำ​แบบ​มุ่ง​งาน​สูง​และ​มุ่ง​คน​สูง​กับ​แบบ​มุ่ง​งาน​ต่ำ​
และ​มุ่ง​คนต​ ่ำ

            โดย​สรุป​คือ​ กลุ่ม​มิชิแกน​เห็น​ว่า​พฤติกรรม​ผู้นำ​เป็น​ผล​จาก​การ​ผสม​ผสาน​ระหว่าง​แบบ​พฤติกรรม
​พื้น​ฐาน 2 แบบ​ที่​ไม่​ได้​แยก​จาก​กัน​เป็น​อิสระ​จน​เกิด​เป็น​ผู้นำ​แบบ​ต่างๆ ตาม​ปริมาณ​มาก​น้อย​ของ​แบบ​พฤติกรรม
​พื้น​ฐานแ​ ต่ละแ​ บบ

            ค. กลุ่ม​มิชิแกน​สรุป​ว่า​ผู้นำ​ที่​มี​ประสิทธิผล​ที่สุด​คือ​ผู้นำ​ท่ี​มี​พฤติกรรม​แบบ​มุ่ง​คน เพราะ​หลัก​ฐาน​จาก​
การศ​ ึกษาข​ องก​ ลุ่มน​ ีอ้​ อกม​ าใ​นร​ ูปท​ ีว่​ ่าผ​ ู้นำแ​ บบม​ ุ่งค​ นส​ ่งผ​ ลใ​หผ้​ ูใ้​ตบ้​ ังคับบ​ ัญชาม​ ผี​ ลง​ านม​ ากข​ ึ้น นอกจากน​ ั้นย​ ังม​ คี​ วาม​
พอใจท​ ี่​จะ​ทำงานด​ ้วย ซึ่งจ​ ะ​ส่งผ​ ล​ให้อ​ ัตรา​การ​ขาด​งานแ​ ละ​การล​ า​ออก​ลด​น้อยล​ ง ส่วนผ​ ู้นำ​แบบ​มุ่ง​งานน​ ั้น​แม้​ใน​ระยะ​
แรก​จะ​ทำให้​ผู้​ใต้​บังคับ​บัญชา​มี​ผล​งาน​มาก​ขึ้น เพราะ​สอด​ส่อง​ควบคุม​ให้​คน​ทำงาน​อย่าง​ใกล้​ชิด​แต่​ใน​ระยะ​ยาว​แล้ว​
ความ​พึง​พอใจ​ของ​คน​ทำงาน​จะ​ลด​น้อย​ลง ผู้​ปฏิบัติ​งาน​จะ​มี​ทัศนคติ​ไม่​ดี​กับ​ผู้นำ ส่ง​ผล​ให้การ​ขาด​งาน​และ​ลา​ออก​มี​
มาก​ขึ้น​ผล​งาน​จะล​ ด​ลงใ​นท​ ี่สุด15

       2.3 	ตาขา่ ยก​ ารบ​ รหิ าร (The Managerial Grid) ในป​ ี ค.ศ. 1964 โรเ​บิร์ต เบลค ก​ ับเ​จน มตู​ ัน (Robert Blake
& Jane Mouton) แห่งม​ หาว​ ิทยาล​ ัยเ​ท็กซัสใ​นส​ หรัฐอเมริกา ไ​ด้ช​ ่วยก​ ันพ​ ัฒนาท​ ฤษฎีต​ าข่ายก​ ารบ​ ริหารข​ ึ้นโ​ดยใ​ช้แ​ นว​
ความ​คิด​หลัก​ของ​กลุ่ม​โอไฮโอส​เตท​เป็น​พื้น​ฐาน​ใน​การ​สร้าง​ทฤษฎี แต่​เขา​ทั้ง​สอง​ได้​พัฒนา​ให้​ทฤษฎี​มี​ความ​ละเอียด​
กว้าง​ขวางข​ ึ้นโ​ดย​อาศัย​ข่าย​ตาราง​ที่​ซับ​ซ้อนข​ ึ้น ทฤษฎี​ตาข่ายก​ ารบ​ ริหารม​ ี​เนื้อหาโ​ดยส​ รุป​ดังนี้

            ก. มแ​ี บบพ​ ฤตกิ รรมผ​ นู้ ำพ​ น้ื ฐ​ าน 2 แบบเ​ชน่ เ​ดยี วกนั เบลคก​ บั ม​ ต​ู นั เ​รยี กพ​ ฤตกิ รรมแ​ บบม​ งุ่ ค​ นว​ า่ “คำนงึ ​
ถงึ ค​ น” (Concern for people) และเ​รยี กพ​ ฤตกิ รรมแ​ บบม​ งุ่ ง​ านว​ า่ “คำนงึ ถ​ งึ ผ​ ลผลติ ” (Concern for production) พฤตกิ รรม​
ผู้นำ 2 แบบน​ ี้ม​ ี​ลักษณะใ​กล้เ​คียง​กับพ​ ฤติกรรม​ผู้นำพ​ ื้น​ฐาน 2 แบบ ของก​ ลุ่ม​โอไฮโอ​ส​เตท

            ข. พฤติกรรม​ผู้นำ​ทั้ง 2 แบบเป็น​มิติ 2 มิติท่ี​แยก​จาก​กัน​เป็น​อิสระ ข้อ​นี้​ก็​ใกล้​เคียง​กับ​ความ​คิด​ของ
​กลมุ่ ​โอไฮโอ​ส​เตท ผล​ก​ค็ อื ​ใน​ขน้ั ​น​ส้ี ามารถ​เขยี น​พฤตกิ รรม​ผนู้ ำ​ออก​ได้ 4 แบบ​ใหญๆ่ เชน่ ​เดยี ว​กบั ​ของ​กลมุ่ ​โอไฮโอ​ส​เตท
ดังแสดงไว้ในภาพท​ ี่ 5.2

            ค. กำหนด​ระดับค​ วามม​ าก​น้อย 9 ระดับ บนแ​ กน​อิสระ​ทั้ง​สอง ผลก​ ็​คือ​ได้พ​ ฤติกรรมผ​ ู้นำ 81 แบบแ​ ต่​
พฤติกรรม​ผู้นำ​หลัก​มี 5 แบบ ดังแสดงไว้ในภ​ าพ​ที่ 5.5

         15 James L. Gibson John M. Ivancevich and James H. Donnelly, Jr. Organization: Behavior, Structure Processes
p. 371; R. Dennis Middlemist & Michael Hitt. Organization Behavior: Managerial Strategies for Performance. St. Paul: West
Publishing, 1988, pp. 397-398.

                             ลิขสทิ ธข์ิ องมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช
   191   192   193   194   195   196   197   198   199   200   201