Page 201 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 201
ผู้นำและการจูงใจ 5-21
ปจั จยั สถานการณ์ 1 2 3 4 5 6 7 8
ความสัมพันธ์ ดี ดี ดี ดี ไม่ดี ไม่ดี ไม่ดี ไม่ดี
ระหว่างผู้นำ
กับผู้ตาม
โครงสร้างงาน มาก มาก น้อย น้อย มาก มาก น้อย น้อย
อำนาจหน้าที่ มาก น้อย มาก น้อย มาก น้อย มาก น้อย
ในตำแหน่ง
สถานการณท์ เ่ี ปน็ ใจ สถานการณท์ เ่ี ปน็ ใจกบั
กับผู้นำมากที่สุด ผู้นำน้อยที่สุด
บุคลิกผู้นำ มุ่งงาน มุ่งงาน มุ่งงาน มุ่งคน มุ่งคน มุ่งคน ได้ทั้ง มุ่งงาน
ที่เหมาะสม สอง
ที่มา: ดัดแปลงจาก Fred E. Fiedler. A Theory of Leadership Effectiveness. New York: McGraw - Hill 1967, p. 146
ภาพท ่ี 5.7 ตัวแบบผู้นำต ามสถานการ ณข์ องฟดี เลอร์
จากภาพที่ 5.7 จะเห็นได้ว่าบุคลิกผู้นำแบบมุ่งงานเหมาะสมที่สุดในสถานการณ์ที่เป็นใจกับผู้นำมาก
ที่สุด (สถานการณ์ 1,2,3) และในสถานการณ์ที่ไม่เป็นใจกับผู้นำมากที่สุด (สถานการณ์ที่ 8) ส่วนบุคลิกผู้นำแบบ
ม ุง่ ค นเหมาะท ีส่ ดุ ในส ถานก าร ณก์ ลางๆ (สถานการณท์ ี่ 4,5,6,7) เมือ่ ผ ลก ารศ กึ ษาว จิ ยั เปน็ อ ยา่ งน ี้ ฟดี เลอร จ์ งึ ส รปุ ว า่ ไมม่ ี
บุคลิกผ ู้นำแบบใดมีป ระสิทธิผลที่สุดในทุกสถานการณ์ สถานการณ์แต่ละอย่างต ้องการบ ุคลิกผู้นำท ี่แ ตกต ่างกัน
3.2 ทฤษฎหี นทาง-เปา้ ห มายข องเฮาส ์ (House’ Path-Goal Theory) จุดเริ่มต ้นข องท ฤษฎนี ีม้ าจ ากก ารศ ึกษา
ของมาร์ติน อีแ วนส์ (Martin Evans) ในป ี ค.ศ. 1970 อีแวนส ์เห็นว่าผู้มีประสิทธิผลน ั้นจะต้องค อยช่วยเหลือผู้ตาม
ให้สามารถทำงานจนบรรลุเป้าหมายและคอยให้รางวัลตอบแทนเป็นกำลังใจ การกระทำของผู้นำเช่นนี้จะทำให้ผู้ตาม
เกิดค วามพ อใจแ ละเกิดค วามพ ยายามท ี่จ ะท ำงานให้ส ำเร็จ หน้าที่ข องผ ู้นำท ี่ต ้องค อยช ่วยเหลือแ ละให้ร างวัลป ลอบใจ
ดังกล่าวเรียกว่า “การชี้ทาง” (path clarification)19 ต่อมา โรเบิตร์ เฮาส์ และเทอเรนซ์ มิทเซล (Robert Hour
Terence Mitchell) ได้นำความคิดของอ ีแ วนส์ม าพ ัฒนาจนส ร้างเป็นท ฤษฎีห นทางเป้าห มายข ึ้น กล่าวคือ เขาทั้งส อง
สามารถพัฒนาจนสร้างเป็นตัวแบบที่แสดงความสอดคล้องต้องกันระหว่างพฤติกรรมผู้นำและแรงจูงใจของผู้ตามที่
จะทำงานให้ส ำเร็จ20
19 Martin G. Evans “The Effects of Supervisory Behavior Behavior on the Path–Goal Relationship.” Organization
Behavior and Human Performance. May, 1970, pp. 277-298.
20 Robert J. House “A Path–Goal Theory of Leadship Effectiveness.” Administrative Science Quarterly. September
1971, pp. 321-339; Robert J. House and Terrence R. Mitchell. “Path – Goal Theory of Leadership.” Journal of Contemporary
Business. Autumn, 1974, pp. 81-98.
ลขิ สิทธิ์ของมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช